ผลของแคร์แมปต่อการรักษาด้วยยาต้านจุลชีพในผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พรพรรณ ทวิชชาติวิทยากุล
Other Authors: อัจฉรา อุทิศวรรณกุล
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10420
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.10420
record_format dspace
spelling th-cuir.104202009-08-25T06:49:29Z ผลของแคร์แมปต่อการรักษาด้วยยาต้านจุลชีพในผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ Effect of care map on antimicrobial therapy in patients with upper urinary tract infection at King Chulalongkorn Memorial Hospital พรพรรณ ทวิชชาติวิทยากุล อัจฉรา อุทิศวรรณกุล พรรณพิศ สุวรรณกูล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ทางเดินปัสสาวะติดเชื้อ สารต้านการติดเชื้อ ปฏิชีวนะ วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของแคร์แมปต่อการรักษาด้วยยาต้านจุลชีพใน ผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โดยแบ่งการวิจัยเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 (กลุ่มที่ 1) เป็นการศึกษาย้อนหลังในผู้ป่วย 131 ราย ที่เข้ารักษาตัวตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 31 ธันวาคม 2543 ระยะที่ 2 (กลุ่มที่ 2) เป็นการศึกษาข้อมูลไปข้างหน้าในผู้ป่วย 66 ราย ที่เข้ารักษาตัวตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2544 31 ธันวาคม 2544 ผลการวิจัยพบว่าการประเมินความเหมาะสมในการรักษาด้วยยาต้านจุลชีพตามแคร์แมปและแนวทางการรักษาภาวะติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบน พบว่าในกลุ่มที่ 1 มีความเหมาะสมร้อยละ 87.02 และกลุ่มที่ 2 มีความเหมาะสมร้อยละ 94.32 แต่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) ค่ามัธยฐานของค่าใช้จ่ายของยาต้านจุลชีพในผู้ป่วยกลุ่มที่ 1 เป็น 437 บาท และกลุ่มที่ 2 เป็น 368 บาท ซึ่งทั้ง 2 กลุ่มนี้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) สำหรับยาต้านจุลชีพแบบฉีดที่ใช้รักษาแบบคาดการณ์มากที่สุดทั้ง 2 กลุ่ม คือยาฉีด Gentamicin ร้อยละ 74.81 และร้อยละ 90.91 ตามลำดับ ค่าเฉลี่ยของวันที่ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์การเปลี่ยนเป็นยารับประทานในกลุ่มที่ 1 เป็น 3.93 วัน และกลุ่มที่ 2 เป็น 3.36 วัน ผู้ป่วยที่ได้รับการเปลี่ยนยาตรงตามเวลาในกลุ่มที่ 1 ร้อยละ 88.55 และกลุ่มที่ 2 ร้อยละ 86.36 ระยะเวลาที่อยู่โรงพยาบาลเฉลี่ย 4.47 วันในกลุ่มที่ 1 และ 4.41 วัน ในกลุ่มที่ 2 แคร์แมปเป็นเครื่องมือในการนำแนวทางการรักษาภาวะติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย ช่วยลดค่าใช้จ่ายและอาจช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลรักษาผู้ป่วย The objective of this research was to study the effect of care map on antimicrobial therapy in patients with upper urinary tract infection at King Chulalongkorn Memorial Hospital. The first phase was a retrospective study of 131 patients who was admitted during July 1 December 30, 2000 and the second phase was a concurrent study of 66 patients who admitted during July 1 December 30, 2001. The results showed that the evaluation of appropriatness of antimicrobial use as compare to the care map and clinical practice guideline showed that the appropriateness was 87.02% in the first group and 94.32 % in the second group with no significant difference (p>0.05). The median of antimicrobial therapy cost was 437 bahts in the first group and 368 bahts in the second group, that was significant difference. (p<0.05). The most antimicrobial injection used as an empirical therapy was Gentamicin 74.81% in the first phase and 90.91% in the second phase, respectively. The mean number of days that patients met criteria for changing to oral antimicrobial was 3.93 days in the first group and 3.36 days in the second group. The patients who had appropriated time of switch in the first group was 88.55 % and 86.36 % in the second group. The mean length of stay was 4.47 days in the first group and 4.41 days in the second group. Care map was a tool for implement of clinical practice guideline for appropriate use of antimicrobial therapy in the treatment of upper urinary tract infection that decreased antimicrobial therapy cost in patient care and may increased the efficacy. 2009-08-25T06:49:28Z 2009-08-25T06:49:28Z 2545 Thesis 9741727429 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10420 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1043308 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ทางเดินปัสสาวะติดเชื้อ
สารต้านการติดเชื้อ
ปฏิชีวนะ
spellingShingle โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ทางเดินปัสสาวะติดเชื้อ
สารต้านการติดเชื้อ
ปฏิชีวนะ
พรพรรณ ทวิชชาติวิทยากุล
ผลของแคร์แมปต่อการรักษาด้วยยาต้านจุลชีพในผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
description วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
author2 อัจฉรา อุทิศวรรณกุล
author_facet อัจฉรา อุทิศวรรณกุล
พรพรรณ ทวิชชาติวิทยากุล
format Theses and Dissertations
author พรพรรณ ทวิชชาติวิทยากุล
author_sort พรพรรณ ทวิชชาติวิทยากุล
title ผลของแคร์แมปต่อการรักษาด้วยยาต้านจุลชีพในผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
title_short ผลของแคร์แมปต่อการรักษาด้วยยาต้านจุลชีพในผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
title_full ผลของแคร์แมปต่อการรักษาด้วยยาต้านจุลชีพในผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
title_fullStr ผลของแคร์แมปต่อการรักษาด้วยยาต้านจุลชีพในผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
title_full_unstemmed ผลของแคร์แมปต่อการรักษาด้วยยาต้านจุลชีพในผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
title_sort ผลของแคร์แมปต่อการรักษาด้วยยาต้านจุลชีพในผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10420
_version_ 1681412747079712768