พัฒนาการการออกแบบการให้แสงสว่างธรรมชาติในอาคารประเภทห้องสมุด
วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20758 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.20758 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
อาคารห้องสมุด -- การออกแบบและการสร้าง การให้แสงธรรมชาติ Library buildings -- Design and construction Daylighting |
spellingShingle |
อาคารห้องสมุด -- การออกแบบและการสร้าง การให้แสงธรรมชาติ Library buildings -- Design and construction Daylighting ไพลิน ไพจิตรสัตยา พัฒนาการการออกแบบการให้แสงสว่างธรรมชาติในอาคารประเภทห้องสมุด |
description |
วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 |
author2 |
วรภัทร์ อิงคโรจน์ฤทธิ์ |
author_facet |
วรภัทร์ อิงคโรจน์ฤทธิ์ ไพลิน ไพจิตรสัตยา |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ไพลิน ไพจิตรสัตยา |
author_sort |
ไพลิน ไพจิตรสัตยา |
title |
พัฒนาการการออกแบบการให้แสงสว่างธรรมชาติในอาคารประเภทห้องสมุด |
title_short |
พัฒนาการการออกแบบการให้แสงสว่างธรรมชาติในอาคารประเภทห้องสมุด |
title_full |
พัฒนาการการออกแบบการให้แสงสว่างธรรมชาติในอาคารประเภทห้องสมุด |
title_fullStr |
พัฒนาการการออกแบบการให้แสงสว่างธรรมชาติในอาคารประเภทห้องสมุด |
title_full_unstemmed |
พัฒนาการการออกแบบการให้แสงสว่างธรรมชาติในอาคารประเภทห้องสมุด |
title_sort |
พัฒนาการการออกแบบการให้แสงสว่างธรรมชาติในอาคารประเภทห้องสมุด |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20758 |
_version_ |
1681412046134968320 |
spelling |
th-cuir.207582014-05-10T13:44:41Z พัฒนาการการออกแบบการให้แสงสว่างธรรมชาติในอาคารประเภทห้องสมุด Development of daylighting design strategies in libraries ไพลิน ไพจิตรสัตยา วรภัทร์ อิงคโรจน์ฤทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ อาคารห้องสมุด -- การออกแบบและการสร้าง การให้แสงธรรมชาติ Library buildings -- Design and construction Daylighting วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 งานวิจัยชิ้นนี้ได้ทำการศึกษาพัฒนาการการออกแบบช่องแสงด้านข้างในบริเวณที่นั่งอ่านหนังสือของอาคารกรณีศึกษาประเภทห้องสมุดในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บรวบรวมลักษณะของรูปแบบช่องแสง รูปแบบของแผงบังแดด และศึกษาประสิทธิผลการให้แสงธรรมชาติของกรณีศึกษาด้วยโปรแกรม DIALux 4.7 โดยเก็บข้อมูลทางสถาปัตยกรรมจากการสำรวจอาคารจริงของอาคารกรณีศึกษาทั้งหมด 21 กรณี จากนั้นทำการสร้างรูปแบบมาตรฐานของช่องแสงโดยอ้างอิงจากข้อมูล อัตราส่วนพื้นที่ช่องแสงต่อพื้นที่ผนัง (Window to wall ratio: WWR) มุมระยะยื่นแผงบังแดดทางนอน (Vertical shading angle: VSA) และมุมระยะยื่นแผงบังแดดทางตั้ง (Horizontal shading angle: HSA) ของกรณีศึกษา โดยนำมาสร้างรูปแบบในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขึ้นใหม่ได้ 27 รูปแบบ เพื่อประเมินประสิทธิภาพการให้แสงธรรมชาติของช่องแสงแต่ละรูปแบบจากค่าความส่องสว่างเฉลี่ยทั้งปีและค่าความสม่ำเสมอของแสงใน 4 ทิศหลัก ผลการศึกษาพบว่าองค์ประกอบการออกแบบช่องแสงของกรณีศึกษาในช่วงปี พ.ศ. 2464-2505 การออกแบบช่องแสงเป็นไปตามการออกแบบประเพณีนิยมของอาคาร ช่วงปี พ.ศ. 2509-2521 พบการใช้ลูกเล่นแผงบังแดดทางนอนประกอบกับทางตั้ง ในช่วงปี พ.ศ. 2540-2552 รายละเอียดของแผงบังแดดถูกลดทอนน้อยลง และการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการให้แสงธรรมชาติของรูปแบบมาตรฐานในแต่ละทิศ พบว่า กรณีช่องแสงทางทิศเหนือ ค่าการส่องสว่างได้ตามเกณฑ์ (300lx)เมื่อช่องแสงมีขนาด WWR ระหว่าง 0.59-0.82 และให้ค่าความสม่ำเสมอตามเกณฑ์ (0.5) เมื่อมีค่า VSA ที่ 42° แต่ WWR ที่ 0.37 จะให้ค่าความสม่ำเสมอตามเกณฑ์ เมื่อมีค่า VSA ที่ 70° โดยให้ผลเช่นเดียวกันกับกรณีช่องแสงทางทิศใต้ กรณีช่องแสงทางด้านทิศตะวันออกให้ค่าส่องสว่างสูงกว่าเกณฑ์เมื่อขนาดช่องมีค่า WWR ระหว่าง 0.37-0.82 แต่จะได้ค่าความสม่ำเสมอตามเกณฑ์เมื่อ WWR มีค่า 0.37 และมีค่า VSA เท่ากับ 90° เท่านั้น และกรณีช่องแสงทางทิศตะวันตกให้ค่าความสม่ำเสมอต่ำกว่าเกณฑ์และใกล้เคียงกันในทุกกรณีของขนาดช่องมีค่า WWR ระหว่าง 0.37-0.82 เว้นแต่กรณีที่มีค่า VSA ที่ 42° และ WWR เท่ากับ 0.82 เพื่อสรุปรวบรวมลักษณะการให้แสงของแต่ละรูปแบบมาตรฐานให้ผู้ค้นคว้าข้อมูลงานวิจัยสามารถคาดการณ์ลักษณะการให้แสงสว่างธรรมชาติของช่องแสงที่ออกแบบได้ The current research investigated the development of lighting design for reading areas in Bangkok’s public libraries. This research aimed to examine the types of openings and shades used in libraries and their efficiency in the use of natural light. Twenty one libraries were selected as case studies. Architectural data of each case study, namely window to wall ratio (WWR), vertical shading angle (VSA), and horizontal shading angle (HSA), were collected from a survey of the actual sites. DIALux4.7 program was then employed to artificially create an opening for natural light based on these data. There were 27 designs of openings simulated by the computer program. These openings were evaluated for their efficiency in terms of average illumination and consistency of lighting in four directions. The findings suggest that, during 1921-1962, the design of openings followed the traditions of building design. From 1966 to 1978, a combination of vertical and horizontal shades was adopted. However, during 1997-2009, the details of shading designs were simplified. In terms of the analysis of lighting efficiency, it was found that a standard illuminance level (300lx) and lighting uniformity (0.5) was reached in the Northern direction when the WWR of the opening was between 0.59-0.82 and the VSA was at 42 degrees. Nevertheless, 0.5 lighting uniformity was also reached when WWR of the opening was at 0.37 and VSA was measured at 37 degrees. This condition appeared to yield the same result in the Southern direction. As for the Eastern opening, the illuminance level was found to be higher than average when the WWR of the opening was between 0.37 and 0.82. However, standard lighting consistency was only reached when WWR was at 0.37 and VSA was at 90 degrees. On the other hand, the Western opening was found to yield low lighting consistency when WWR was between 0.37 and 0.82, except in the case where VSA of the opening was at 42 degrees and WWR was set at 0.82. The findings of this research detail the characteristics of standard designs for natural lighting so as to provide the information for future researchers with regard to possible designs of openings and their anticipated lighting conditions. 2012-07-12T13:48:55Z 2012-07-12T13:48:55Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20758 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 23844778 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |