การตรวจวัดซีโรโทนิน และการพัฒนาเทคนิคทางห้องปฏิบัติการสำหรับการตรวจหาแอนติบอดีของตนเองต่อซีโรโทนินในเลือดของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน
วิทยานิพนธ์.(วท.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2550
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2014
|
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41856 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.41856 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chulalongkorn University Library |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
description |
วิทยานิพนธ์.(วท.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2550 |
author2 |
เทวิน เทนคำเนาว์ |
author_facet |
เทวิน เทนคำเนาว์ กาญจนา เกตุบุญลือ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
กาญจนา เกตุบุญลือ |
spellingShingle |
กาญจนา เกตุบุญลือ การตรวจวัดซีโรโทนิน และการพัฒนาเทคนิคทางห้องปฏิบัติการสำหรับการตรวจหาแอนติบอดีของตนเองต่อซีโรโทนินในเลือดของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน |
author_sort |
กาญจนา เกตุบุญลือ |
title |
การตรวจวัดซีโรโทนิน และการพัฒนาเทคนิคทางห้องปฏิบัติการสำหรับการตรวจหาแอนติบอดีของตนเองต่อซีโรโทนินในเลือดของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน |
title_short |
การตรวจวัดซีโรโทนิน และการพัฒนาเทคนิคทางห้องปฏิบัติการสำหรับการตรวจหาแอนติบอดีของตนเองต่อซีโรโทนินในเลือดของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน |
title_full |
การตรวจวัดซีโรโทนิน และการพัฒนาเทคนิคทางห้องปฏิบัติการสำหรับการตรวจหาแอนติบอดีของตนเองต่อซีโรโทนินในเลือดของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน |
title_fullStr |
การตรวจวัดซีโรโทนิน และการพัฒนาเทคนิคทางห้องปฏิบัติการสำหรับการตรวจหาแอนติบอดีของตนเองต่อซีโรโทนินในเลือดของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน |
title_full_unstemmed |
การตรวจวัดซีโรโทนิน และการพัฒนาเทคนิคทางห้องปฏิบัติการสำหรับการตรวจหาแอนติบอดีของตนเองต่อซีโรโทนินในเลือดของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน |
title_sort |
การตรวจวัดซีโรโทนิน และการพัฒนาเทคนิคทางห้องปฏิบัติการสำหรับการตรวจหาแอนติบอดีของตนเองต่อซีโรโทนินในเลือดของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2014 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41856 |
_version_ |
1724630002825166848 |
spelling |
th-cuir.418562019-06-05T07:23:21Z การตรวจวัดซีโรโทนิน และการพัฒนาเทคนิคทางห้องปฏิบัติการสำหรับการตรวจหาแอนติบอดีของตนเองต่อซีโรโทนินในเลือดของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน Detection of serotonin development of laboratory technique for detecting autoantibodies to serotonin in the psoriatic patient's blood กาญจนา เกตุบุญลือ เทวิน เทนคำเนาว์ วนิดา คำพา ศิริพร ชื้อชวาลกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์ วิทยานิพนธ์.(วท.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2550 โรคสะเก็ดเงินเป็นโรคผิวหนังอักเสบเรื้อรังที่เกิดจากเซลล์ผิวหนังแบ่งตัวเร็วกว่าปกติทำให้ชั้นหนังกำพร้าหนาตัวขึ้นและเป็นขุย ซึ่งเกิดจากการขยายตัวของหลอดเลือดแดงและมีการเคลื่อนที่ของเม็ดเลือดขาวเข้ามาอยู่รอบ ๆ หลอดเลือด ถึงแม่ว่าสาเหตุของโรคนี้ยังคงไม่ทราบแน่ชัด ซึ่งดูเหมือนว่าอาจะมีอิทธิพลมาจากความเครียดที่ทำให้เกิดการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตมากขึ้น ดังนั้น serotonergic system น่าจะมีบทบาทในโรคสะเกิดเงิน การวิจัยครั้งนี้จึงมุ่งเน้นที่จะศึกษาความหลากหลายของยีน SERT ชนิด 5HTTLPR และ 5HTTVNTR รวมถึงระดับของซีโรโทนินและระดับแอนติบดีต่อตนเองของซีโรโทนิน ในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับการเกิดพยาธิสภาพของโรค ในการตรวจวัดด้วยเทคนิค ELIS ที่พัฒนาขึ้นมาในห้องปฏิบัติการครั้งนี้ พบว่าระดับแอนติบอดี ต่อตนเองของซีโรโทนินชนิด IgG ในซีรัมของผู้ป่วนโรคสะเก็ดเงิน (n=29,32 ตามลำดับ) ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p > 0.05) เมื่อเทียบกับกลุ่มคนปกติ (n=30,33 ตามลำดับ) นอกจากนี้คณะผู้วิจัยยังประสบความสำเร็จในการพัฒนาการตรวจวัดระดับซีโทโทนินในสิ่งส่งตรวจด้วยเทคนิค gradient HPLC และ พบว่าระดับซีโรโทนินในพลาสมาที่มีปริมาณเกล็ดเลือดสูง และเกล็ดเลือดของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน (n=16) มี ระดับ ซีโรโทนินต่ำกว่ากลุ่มควบคุม (n=31) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p > 0.05) แม้ว่าไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของระดับซีโรโทนินในซีรัม ระหว่าง 2 กลุ่ม (p > 0.05) และเมื่อศึกษาถึงองค์ประกอบต่าง ๆ ในตัวอย่างเลือดโดยการตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์ของผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน (n=16) ยังพบว่ามีจำนวนเม็ดเลือดขวาวชนิดลิมโฟไซท์สูงกว่ากลุ่มคนปกติ (n=53) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) พารามิเตอร์ที่มีนัยสำคัญเหล่านี้เมื่อนำมาวิเคราะห์กับ PASI score ด้วยสถิติ Pearson’s correlation แล้วกลับไม่พบความสัมพันธ์อาจเนื่องมาจากสิ่งตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มาจากผู้ป่วยที่มีระดับความรุนแรงของโรคน้อยถึงปานกลาง อย่างไรก็ตามผลการศึกษาที่พบความแตกต่างของระดับซีโรโทนินพลาสมาที่มีปริมาณเกล็ดเลือดสูง และเกล็ดเลือดระหว่าง 2 กลุ่มนั้น อาจช่วยให้สามารถเข้าใจมากขึ้นถึงกลไกในระดับโมเลกุลของซีโรโทนินต่อโรคสะเก็ดเงินได้ ซึ่งควรมีการศึกษาต่อไป Psoriasis is a chronic skin disease characterized by the hyperproliferation of the epidermis, elongated and prominent blood vessels and a thick perivascular lymphocytic infiltrate. Although the precise causes of this recurrent inflammatory skin disorder remain elusive, it appears to be influenced by stress that is known to cause release of adrenal hormones. Therefore, the serotonergic system may have a role in psoriasis. The present study focused on not only serotonin transporter gene polymorphisms (5HTTLPR and 5HTTVNTR), but also serotonin level and autoantibodies to serotonin in order to elucidate if serotonin is involved in the pathogenesis of psoriasis. ELISA approach established in our laboratory to detect autoantibodies (IgG and IgM) to serotonin in serum of healthy controls (n=30, 33 respectively) and psoriatic patients (n=29, 32 respectively) showed no statistically significant difference (p > 0.05). We successfully modified the new HPLC method called gradient HPLC to detect the serotonin level in human specimens. Although no difference in serotonin concentration was found in serum of the two groups (p > 0.05), the psoriatic patients (n=16) had significantly lower serotonin in both platelet rich plasma (PRP) and platelets (p < 0.05) as compared to healthy controls (n=31). In addition, a complete blood count (CBC) was performed. A number of lymphocytes in psoriatic patients (n=16) was found significantly higher than that of healthy controls (n=53) (p < 0.05). All statistically significant parameters observed were analyzed to witness the impact of PASI score according to Pearson’s correlation, but no association was found. This might be due to the clinical specimens evaluated in this study were from mild to moderate psoriatic patients. However, our novel finding, the different serotonin concentrations in PRP and platelets of the two groups may help elucidating the molecular connection between serotonin and psoriasis, and this aspect should really be further investigated. 2014-03-25T11:51:41Z 2014-03-25T11:51:41Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41856 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |