ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับจำนวนวันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรคกระดูกและข้อ

จำนวนวันนอนในโรงพยาบาลเป็นตัวชี้วัดคุณภาพของการรักษาพยาบาลที่สำคัญ ประการหนึ่ง เนื่องจากจำนวนวันนอนโรงพยาบาลที่มีระยะเวลาที่นานจะส่งผลกระทบต่อตัวผู้ป่วย ญาติ และโรงพยาบาล การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย คัดสรร (ระดับอัลบูมินในเลือด ความสามารถในการทำกิจกรรมเมื่อแร...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อมรตา อาชาพิทักษ์, สุภาพ อารีเอื้อ, พรทิพย์ มาลาธรรม
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52538
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.52538
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความสามารถในการทำกิจกรรม
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะสับสนเฉียบพลัน
จำนวนวัน
นอนในโรงพยาบาล
ผู้ป่วยสูงอายุ
การผ่าตัดโรคกระดูกและข้อ
Functional ability
Complications
Acute confusional state
Length of hospital stay
Older patients
Orthopedic surgery
spellingShingle ความสามารถในการทำกิจกรรม
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะสับสนเฉียบพลัน
จำนวนวัน
นอนในโรงพยาบาล
ผู้ป่วยสูงอายุ
การผ่าตัดโรคกระดูกและข้อ
Functional ability
Complications
Acute confusional state
Length of hospital stay
Older patients
Orthopedic surgery
อมรตา อาชาพิทักษ์
สุภาพ อารีเอื้อ
พรทิพย์ มาลาธรรม
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับจำนวนวันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรคกระดูกและข้อ
description จำนวนวันนอนในโรงพยาบาลเป็นตัวชี้วัดคุณภาพของการรักษาพยาบาลที่สำคัญ ประการหนึ่ง เนื่องจากจำนวนวันนอนโรงพยาบาลที่มีระยะเวลาที่นานจะส่งผลกระทบต่อตัวผู้ป่วย ญาติ และโรงพยาบาล การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย คัดสรร (ระดับอัลบูมินในเลือด ความสามารถในการทำกิจกรรมเมื่อแรกรับเข้าโรงพยาบาล ความ ปวดหลังผ่าตัดที่ลดลง ภาวะสับสนเฉียบพลัน จำนวนภาวะแทรกซ้อนขณะอยู่โรงพยาบาล และ จำนวนโรคประจำตัว) กับจำนวนวันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรค กระดูกและข้อ กลุ่มตัวอย่างได้รับการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจำนวน 99 ราย มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป และเข้ารับการรักษาโดยการผ่าตัดโรคกระดูกและข้อในส่วนของกระดูกสันหลัง กระดูก สะโพก และข้อเข่า ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551 เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์และการบันทึกอาการตามแบบสอบถาม โดยยึดหลักการพิทักษ์สิทธิ์ผู้เข้าร่วมวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนวันนอนโรงพยาบาลตั้งแต่ 7 ถึง 81 วัน โดยมีค่าเฉลี่ย 21.16 วัน โดย ระดับอัลบูมินในเลือดและความสามารถในการทำกิจกรรมเมื่อแรกรับเข้าโรงพยาบาลมีความ สัมพันธ์ทางลบกับจำนวนวันนอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรคกระดูกและ ข้อโดยรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่การเกิดภาวะสับสนเฉียบพลันและจำนวนภาวะ แทรกซ้อนขณะอยู่โรงพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับจำนวนวันนอนโรงพยาบาลของผู้ป่วย กลุ่มดังกล่าว ผลการวิจัยนี้ ชี้ให้เห็นว่าการส่งเสริมภาวะโภชนาการ การคงไว้ซึ่งความสามารถใน การทำกิจกรรมเมื่อแรกรับเข้าโรงพยาบาลของผู้สูงอายุ การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ เกิดขึ้นในโรงพยาบาลและการเกิดภาวะสับสนเฉียบพลันมีความสัมพันธ์กับจำนวนวันนอนใน โรงพยาบาลที่สั้นของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรคกระดูกและข้อ ซึ่งน่าจะนำไปสู่การส่งเสริม ให้ผู้ป่วยฟื้นหายจากความเจ็บป่วย และกลับบ้านได้เร็วขึ้น
format Article
author อมรตา อาชาพิทักษ์
สุภาพ อารีเอื้อ
พรทิพย์ มาลาธรรม
author_facet อมรตา อาชาพิทักษ์
สุภาพ อารีเอื้อ
พรทิพย์ มาลาธรรม
author_sort อมรตา อาชาพิทักษ์
title ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับจำนวนวันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรคกระดูกและข้อ
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับจำนวนวันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรคกระดูกและข้อ
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับจำนวนวันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรคกระดูกและข้อ
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับจำนวนวันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรคกระดูกและข้อ
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับจำนวนวันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรคกระดูกและข้อ
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับจำนวนวันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรคกระดูกและข้อ
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52538
_version_ 1763492311658921984
spelling th-mahidol.525382023-03-30T13:19:22Z ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับจำนวนวันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรคกระดูกและข้อ Relationships between Selected Factors and Length of Hospital Stay of Older Patients Undergoing Orthopedic Surgery อมรตา อาชาพิทักษ์ สุภาพ อารีเอื้อ พรทิพย์ มาลาธรรม ความสามารถในการทำกิจกรรม ภาวะแทรกซ้อน ภาวะสับสนเฉียบพลัน จำนวนวัน นอนในโรงพยาบาล ผู้ป่วยสูงอายุ การผ่าตัดโรคกระดูกและข้อ Functional ability Complications Acute confusional state Length of hospital stay Older patients Orthopedic surgery จำนวนวันนอนในโรงพยาบาลเป็นตัวชี้วัดคุณภาพของการรักษาพยาบาลที่สำคัญ ประการหนึ่ง เนื่องจากจำนวนวันนอนโรงพยาบาลที่มีระยะเวลาที่นานจะส่งผลกระทบต่อตัวผู้ป่วย ญาติ และโรงพยาบาล การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย คัดสรร (ระดับอัลบูมินในเลือด ความสามารถในการทำกิจกรรมเมื่อแรกรับเข้าโรงพยาบาล ความ ปวดหลังผ่าตัดที่ลดลง ภาวะสับสนเฉียบพลัน จำนวนภาวะแทรกซ้อนขณะอยู่โรงพยาบาล และ จำนวนโรคประจำตัว) กับจำนวนวันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรค กระดูกและข้อ กลุ่มตัวอย่างได้รับการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจำนวน 99 ราย มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป และเข้ารับการรักษาโดยการผ่าตัดโรคกระดูกและข้อในส่วนของกระดูกสันหลัง กระดูก สะโพก และข้อเข่า ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551 เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์และการบันทึกอาการตามแบบสอบถาม โดยยึดหลักการพิทักษ์สิทธิ์ผู้เข้าร่วมวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนวันนอนโรงพยาบาลตั้งแต่ 7 ถึง 81 วัน โดยมีค่าเฉลี่ย 21.16 วัน โดย ระดับอัลบูมินในเลือดและความสามารถในการทำกิจกรรมเมื่อแรกรับเข้าโรงพยาบาลมีความ สัมพันธ์ทางลบกับจำนวนวันนอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรคกระดูกและ ข้อโดยรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่การเกิดภาวะสับสนเฉียบพลันและจำนวนภาวะ แทรกซ้อนขณะอยู่โรงพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับจำนวนวันนอนโรงพยาบาลของผู้ป่วย กลุ่มดังกล่าว ผลการวิจัยนี้ ชี้ให้เห็นว่าการส่งเสริมภาวะโภชนาการ การคงไว้ซึ่งความสามารถใน การทำกิจกรรมเมื่อแรกรับเข้าโรงพยาบาลของผู้สูงอายุ การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ เกิดขึ้นในโรงพยาบาลและการเกิดภาวะสับสนเฉียบพลันมีความสัมพันธ์กับจำนวนวันนอนใน โรงพยาบาลที่สั้นของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการผ่าตัดโรคกระดูกและข้อ ซึ่งน่าจะนำไปสู่การส่งเสริม ให้ผู้ป่วยฟื้นหายจากความเจ็บป่วย และกลับบ้านได้เร็วขึ้น The length of a patient’s hospital stay has been used as an indicator of the quality of care. Prolonged hospitalization has an impact on patients, their relatives, and hospitals. The purpose of this descriptive study was to investigate the relationship between selected factors (i.e. serum albumin level, functional ability at admission, pain reduction, acute confusional state, number of complications, and number of co-morbidity) and the length of hospital stay for older patients undergoing orthopedic surgery. Purposive sampling was used to recruit a sample of 99 patients, aged 60 years and older, who were admitted to hospital for orthopedic surgery of the spine, hip, and knee during a period from January to May 2008. Data collection procedures were conducted after approval by the Ethics Committee of Rajavithi Hospital. The data were analyzed using descriptive statistics, and Spearman rank order correlation. Findings indicated that the length of the hospital stay ranged from 7 to 81 days with a mean of 21.16 days. Serum albumin level and functional ability at admission had a significant negative correlation with the length of hospital stay in older patients undergoing orthopedic surgery, while acute confusional state and the number of complications were significantly, positively correlated with the length of hospital stay. In conclusion, promotion of nutritional status, maintenance of functional ability at admission, and prevention of complication and acute confusional state had a correlation with the shortening of the length of hospital stay in older patients undergoing orthopedic surgery. Findings of this study may be used as basic information for enabling older patients who have undergone orthopedic surgery to recover from the sickness and return home faster. 2020-02-20T04:10:18Z 2020-02-20T04:10:18Z 2563-02-20 2552 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 15, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2552), 249-268 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52538 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf