ผลของการทำความสะอาดเสน้ผมและหนงัศรีษะหลงัการจดัการแผลตอ่ความพงึพอใจ การติดเชื้อ และการหายของแผลของผู้บาดเจ็บที่มีแผลฉีกขาดที่ศีรษะ

วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วันวิสาห์ โยธิยา, อัจฉรา สุคนธสรรพ์, สุภารัตน์ วังศรีคูณ
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/77528/62187
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64253
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-64253
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-642532019-05-07T09:59:55Z ผลของการทำความสะอาดเสน้ผมและหนงัศรีษะหลงัการจดัการแผลตอ่ความพงึพอใจ การติดเชื้อ และการหายของแผลของผู้บาดเจ็บที่มีแผลฉีกขาดที่ศีรษะ Effects of Hair and Scalp Cleaning after Wound Management on Satisfaction Infection and Wound Healing among Traumatic Persons with Scalp Laceration วันวิสาห์ โยธิยา อัจฉรา สุคนธสรรพ์ สุภารัตน์ วังศรีคูณ วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ แผลฉีกขาดที่ศีรษะเป็นแผลอุบัติเหตุที่พบได้บ่อย การทำความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะหลังการ จัดการแผลอาจทำให้ผู้บาดเจ็บเกิดความพึงพอใจแต่อาจส่งผลต่อการติดเชื้อที่แผลและการหายของแผลการ ศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองแบบมีกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง เพื่อศึกษาผลของการทำความสะอาด เส้นผมและหนังศีรษะหลังการจัดการแผลต่อความพึงพอใจการติดเชื้อและการหายของแผลของผู้บาดเจ็บที่ มีแผลฉีกขาดที่ศีรษะ ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือ ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บและมีแผลฉีกขาดที่ศีรษะซึ่งแพทย์ อนุญาตให้กลับบ้านภายหลังได้รับการจัดการแผลที่ห้องฉุกเฉิน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษานี้คือผู้ที่ได้รับบาด เจ็บและมีแผลฉีกขาดที่ศีรษะซึ่งแพทย์อนุญาตให้กลับบ้านภายหลังได้รับการจัดการแผลที่ห้องฉุกเฉิน โรง พยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่จำนวน 90รายเก็บข้อมูลระหว่างเดือนเมษายน ถึง เดือนตุลาคม พ.ศ.2558 จัดกลุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายโดยวิธีจับฉลากได้กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มละ 45 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามมาตรฐานปกติกลุ่มทดลองได้รับการทำความสะอาดเส้นผม และหนังศีรษะหลังการจัดการแผล เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจัย ได้แก่ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ใน การทำความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะ น้ำยา 4% คลอเฮกซิดีนกลูโคเนต แชมพูเด็ก น้ำประปา และคู่มือ การทำความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะหลังการจัดการแผลเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่แบบ บันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความพึงพอใจซึ่งมีข้อคำถามเดียว แบบบันทึกการติดเชื้อที่แผลตาม เกณฑ์การวินิจฉัยการติดเชื้อที่แผลของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (Center for Disease Control and Prevention[CDC],2014)และแบบบันทึกการหายของแผลเครื่องมือใช้ในการรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยสร้างขึ้น จากการทบทวนวรรณกรรมและผ่านการตรวจสอบคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิในการศึกษานี้แพทย์เป็นผู้วินิจฉัย การติดเชื้อที่แผลและการหายของแผลวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายสถิติทดสอบแมนวิทนีย์ยูและสถิติ ไคว์สแควร์ ผลการศึกษาพบว่า 1. กลุ่มที่ได้รับการทำความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะหลังการจัดการแผลมีความพึงพอใจ (ค่า มัธยฐาน = 4) มากกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามมาตรฐานปกติ(ค่ามัธยฐาน = 3) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001, U = 260, r = 7.10) 2. กลุ่มตัวอย่างทั้งกลุ่มที่ได้รับการทำความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะหลังการจัดการแผลและกลุ่ม ที่ได้รับการดูแลตามมาตรฐานปกติไม่มีการติดเชื้อที่แผล 3. กลุ ่มที่ได้รับการทำความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะหลังการจัดการแผลมีการหายของแผล ร้อยละ 77.78 (35/45) ไม่แตกต่างจากกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามมาตรฐานปกติร้อยละ 84.44 (38/45) ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการทำความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะหลังการจัดการแผลอย่างเหมาะ สมสร้างความพึงพอใจโดยไม่ทำให้แผลติดเชื้อและไม่มีผลต่อการหายของแผลในผู้บาดเจ็บที่มีแผลฉีกขาดที่ ศีรษะ ดังนั้นจึงควรนำวิธีการนี้ไปใช้ในการดูแลผู้บาดเจ็บที่มีแผลฉีกขาดที่ศีรษะเพื่อพัฒนาคุณภาพการ พยาบาลที่ห้องฉุกเฉิน 2019-05-07T09:59:54Z 2019-05-07T09:59:54Z 2016 บทความวารสาร 0125-0081 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/77528/62187 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64253 Tha คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ
format บทความวารสาร
author วันวิสาห์ โยธิยา
อัจฉรา สุคนธสรรพ์
สุภารัตน์ วังศรีคูณ
spellingShingle วันวิสาห์ โยธิยา
อัจฉรา สุคนธสรรพ์
สุภารัตน์ วังศรีคูณ
ผลของการทำความสะอาดเสน้ผมและหนงัศรีษะหลงัการจดัการแผลตอ่ความพงึพอใจ การติดเชื้อ และการหายของแผลของผู้บาดเจ็บที่มีแผลฉีกขาดที่ศีรษะ
author_facet วันวิสาห์ โยธิยา
อัจฉรา สุคนธสรรพ์
สุภารัตน์ วังศรีคูณ
author_sort วันวิสาห์ โยธิยา
title ผลของการทำความสะอาดเสน้ผมและหนงัศรีษะหลงัการจดัการแผลตอ่ความพงึพอใจ การติดเชื้อ และการหายของแผลของผู้บาดเจ็บที่มีแผลฉีกขาดที่ศีรษะ
title_short ผลของการทำความสะอาดเสน้ผมและหนงัศรีษะหลงัการจดัการแผลตอ่ความพงึพอใจ การติดเชื้อ และการหายของแผลของผู้บาดเจ็บที่มีแผลฉีกขาดที่ศีรษะ
title_full ผลของการทำความสะอาดเสน้ผมและหนงัศรีษะหลงัการจดัการแผลตอ่ความพงึพอใจ การติดเชื้อ และการหายของแผลของผู้บาดเจ็บที่มีแผลฉีกขาดที่ศีรษะ
title_fullStr ผลของการทำความสะอาดเสน้ผมและหนงัศรีษะหลงัการจดัการแผลตอ่ความพงึพอใจ การติดเชื้อ และการหายของแผลของผู้บาดเจ็บที่มีแผลฉีกขาดที่ศีรษะ
title_full_unstemmed ผลของการทำความสะอาดเสน้ผมและหนงัศรีษะหลงัการจดัการแผลตอ่ความพงึพอใจ การติดเชื้อ และการหายของแผลของผู้บาดเจ็บที่มีแผลฉีกขาดที่ศีรษะ
title_sort ผลของการทำความสะอาดเสน้ผมและหนงัศรีษะหลงัการจดัการแผลตอ่ความพงึพอใจ การติดเชื้อ และการหายของแผลของผู้บาดเจ็บที่มีแผลฉีกขาดที่ศีรษะ
publisher คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/77528/62187
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64253
_version_ 1681426047287951360