การเจริญเติบโตและผลของวัสดุปลูกต่อการผลิตแซนเดอร์โซเนียในประเทศไทย

วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วันวิสา กันยากอง, โสระยา ร่วมรังษี
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 2019
Online Access:http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00117_C00865.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64329
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-64329
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-643292019-05-07T10:02:02Z การเจริญเติบโตและผลของวัสดุปลูกต่อการผลิตแซนเดอร์โซเนียในประเทศไทย Growth and Development and Effect of Growing Media on Sandersonia aurantiaca Hook. Production in Thailand วันวิสา กันยากอง โสระยา ร่วมรังษี วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) การศึกษาการเจริญเติบโตของแซนเดอร์โซเนียที่ปลูกโดยใช้หัวพันธุ์ที่มีน้ำหนัก 3-5 กรัม ในแปลงขนาด 70×300 เซนติเมตร ใช้วัสดุปลูกที่เป็นส่วนผสมของ ดินร่วน:ทราย:ถ่านแกลบ อัตราส่วน 1:1:1 โดยปริมาตร ในโรงเรือนพลาสติก ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ พบว่าความสูงของต้นและจำนวนใบเพิ่มขึ้นจนกระทั่งสูงสุดมีค่าเฉลี่ย 51.4 เซนติเมตรและ 24 ใบในสัปดาห์ที่ 12 การออกดอกเกิดขึ้นหลังจากมีการเจริญเติบโตทางด้านลำต้นประมาณ 45 วันหลังปลูก โดยมีจำนวนดอกต่อช่อเฉลี่ยเพียง 3.6 ดอกซึ่งต่ำกว่ามาตรฐานทางการค้า การสร้างหัวเกิดขึ้นในสัปดาห์ที่ 10 หลังปลูกและมีขนาดเพิ่มขึ้นจนกระทั่งถึงพืชพักตัวในสัปดาห์ที่ 18 การวิเคราะห์ปริมาณธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมเพิ่มขึ้นทั้งในอวัยวะส่วนเหนือดินและส่วนใต้ดินเมื่อมีการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้น การศึกษาผลของวัสดุปลูกต่อการเจริญเติบโตของแซนเดอร์โซเนีย โดยใช้หัวพันธุ์ที่มีน้ำหนัก 3-5 กรัม ปลูกในถุงดำซึ่งมีวัสดุปลูกแตกต่างกัน 4 สูตร คือ 1) ดินร่วน:ทราย อัตราส่วน 1:1, 2) ดินร่วน:ทราย:ถ่านแกลบ อัตราส่วน 1:1:1, 3) ดินร่วน:ทราย:ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1:1 และ 4) ดินร่วน:ทราย:ถ่านแกลบ:ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1:1:1 โดยปริมาตร พบว่า แซนเดอร์โซเนียที่ปลูกในส่วนผสมของ ดินร่วน:ทราย:ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1:1 และดินร่วน:ทราย:ถ่านแกลบ:ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1:1:1 มีการเจริญเติบโตทางลำต้น คุณภาพดอกและคุณภาพหัวพันธุ์ดีที่สุด 2019-05-07T10:02:02Z 2019-05-07T10:02:02Z 2555 บทความวารสาร 0857-0842 http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00117_C00865.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64329 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)
format บทความวารสาร
author วันวิสา กันยากอง
โสระยา ร่วมรังษี
spellingShingle วันวิสา กันยากอง
โสระยา ร่วมรังษี
การเจริญเติบโตและผลของวัสดุปลูกต่อการผลิตแซนเดอร์โซเนียในประเทศไทย
author_facet วันวิสา กันยากอง
โสระยา ร่วมรังษี
author_sort วันวิสา กันยากอง
title การเจริญเติบโตและผลของวัสดุปลูกต่อการผลิตแซนเดอร์โซเนียในประเทศไทย
title_short การเจริญเติบโตและผลของวัสดุปลูกต่อการผลิตแซนเดอร์โซเนียในประเทศไทย
title_full การเจริญเติบโตและผลของวัสดุปลูกต่อการผลิตแซนเดอร์โซเนียในประเทศไทย
title_fullStr การเจริญเติบโตและผลของวัสดุปลูกต่อการผลิตแซนเดอร์โซเนียในประเทศไทย
title_full_unstemmed การเจริญเติบโตและผลของวัสดุปลูกต่อการผลิตแซนเดอร์โซเนียในประเทศไทย
title_sort การเจริญเติบโตและผลของวัสดุปลูกต่อการผลิตแซนเดอร์โซเนียในประเทศไทย
publisher มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
publishDate 2019
url http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00117_C00865.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64329
_version_ 1681426061585285120