การใช้สารล่อดักจับแมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera latifrons (Hendel) ศัตรูสำคัญในพริก
วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Format: | บทความวารสาร |
Language: | Tha |
Published: |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
2019
|
Online Access: | http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00118_C00875.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64344 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-64344 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-643442019-05-07T10:02:03Z การใช้สารล่อดักจับแมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera latifrons (Hendel) ศัตรูสำคัญในพริก Use of Attractants for Detection of the Solanum Fruit Fly, Bactrocera latifrons (Hendel) Key Pest on Chili อโนทัย วิงสระน้อย วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) พริกระยะติดผลพบมีแมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera latifrons (Hendel) เข้าทำลายกัดกินอยู่ภายในผล ทำให้ผลเน่าและร่วงหล่น เก็บผลผลิตไม่ได้ ด้วยแมลงวันพริกมีรูปร่างลักษณะคล้ายกับแมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera dorsalis เกษตรกรส่วนใหญ่จึงใช้สารเมทธิลยูจินอล (methyl eugenol) ซึ่งเป็นสารที่ใช้สำหรับล่อแมลงวันผลไม้บางชนิดผสมสารฆ่าแมลงมาใช้ควบคุมประชากรแมลงวันผลไม้ชนิด B. latifrons โดยการใส่สารในขวดน้ำพลาสติกแล้วนำไปแขวนในแปลงปลูกพริก เพื่อล่อให้ตัวเต็มวัยเพศผู้มาติดกับดัก แต่การใช้สารดังกล่าวสามารถดึงดูดได้เพียงแมลงวันผลไม้ชนิด B. dorsalis (Hendel) และแมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera correcta (Bezzi) เท่านั้น ซึ่งสารเคมีที่สามารถดึงดูดแมลงวันผลไม้ชนิด B. latifrons ได้ดี คือ สาร lati-lure สารเคมีในกลุ่ม µ–ionone และ µ–ionol ทุกชนิด โดยการใช้สาร µ-ionol ผสม cade oil สามารถดึงดูดแมลงวันผลไม้ชนิด B. latifrons สูงถึง 100 เปอร์เซ็นต์ ในสัปดาห์แรกของการติดกับดัก หลังจากนั้นจะลดลงเรื่อย ๆ และลดลงเหลือ 50 เปอร์เซ็นต์ หลังจากติดกับดักเป็นเวลา 6 สัปดาห์ และสาร µ-ionol ผสม cade oil สามารถดึงดูดแมลงวันผลไม้ชนิด B. latifrons ได้ไกลถึง 25 เมตร และมีประสิทธิภาพในการดึงดูดดีที่สุดเมื่อใช้ในระยะ 5 เมตร 2019-05-07T10:02:03Z 2019-05-07T10:02:03Z 2556 บทความวารสาร 0857-0842 http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00118_C00875.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64344 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
description |
วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) |
format |
บทความวารสาร |
author |
อโนทัย วิงสระน้อย |
spellingShingle |
อโนทัย วิงสระน้อย การใช้สารล่อดักจับแมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera latifrons (Hendel) ศัตรูสำคัญในพริก |
author_facet |
อโนทัย วิงสระน้อย |
author_sort |
อโนทัย วิงสระน้อย |
title |
การใช้สารล่อดักจับแมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera latifrons (Hendel) ศัตรูสำคัญในพริก |
title_short |
การใช้สารล่อดักจับแมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera latifrons (Hendel) ศัตรูสำคัญในพริก |
title_full |
การใช้สารล่อดักจับแมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera latifrons (Hendel) ศัตรูสำคัญในพริก |
title_fullStr |
การใช้สารล่อดักจับแมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera latifrons (Hendel) ศัตรูสำคัญในพริก |
title_full_unstemmed |
การใช้สารล่อดักจับแมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera latifrons (Hendel) ศัตรูสำคัญในพริก |
title_sort |
การใช้สารล่อดักจับแมลงวันผลไม้ชนิด bactrocera latifrons (hendel) ศัตรูสำคัญในพริก |
publisher |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ |
publishDate |
2019 |
url |
http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00118_C00875.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64344 |
_version_ |
1681426064438460416 |