การประเมินพ่อและแม่พันธุ์เพื่อการผลิตลูกผสมชั่วที่ 1 ของผักกาดเขียวปลี
วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Format: | บทความวารสาร |
Language: | Tha |
Published: |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
2019
|
Online Access: | http://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=125&CID=916 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64376 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-64376 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-643762019-05-07T10:02:04Z การประเมินพ่อและแม่พันธุ์เพื่อการผลิตลูกผสมชั่วที่ 1 ของผักกาดเขียวปลี Evaluation of Male and Female Parents for F1 Hybrid Production of Leaf Mustard ธีรวัฒน์ สีทอง มณีฉัตร นิกรพันธุ์ วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) การประเมินผักกาดเขียวปลีลูกผสมชั่วที่ 1 จำนวน 7 พันธุ์ และเปรียบเทียบกับ พันธุ์พ่อแม่ พันธุ์การค้า วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ในบล็อก มี 3 ซ้ำ ทดสอบในฤดูหนาว ปี พ.ศ. 2554 ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่ามีผลผลิตเฉลี่ย 2,016 ถึง 4,435 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงที่สุด คือ พันธุ์ 2M ส่วนพันธุ์ BC9(4-4 x 2M) ที่ใช้เป็นแม่พันธุ์ผสมกับพ่อพันธุ์ 4OR ให้ลูกผสมชั่วที่ 1 พันธุ์ BC9(4-4x2M) x 4OR ที่มีผลผลิตสูง 3,468 กิโลกรัมต่อไร่ และพันธุ์ BC9(4-3x19H) x 2M BC9(4-4x 4OR) x 19H9 BC9(4-4x 4OR)x2M และ BC11(4-4x4OR)x2M มีน้ำหนักปลีเฉลี่ย 350 ถึง 450 กรัมต่อหัว ซึ่งเป็นน้ำหนักหัวที่เป็นที่ต้องการของโรงงานแปรรูป ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่เปอร์เซ็นต์การตัดแต่งไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติและการศึกษาความดีเด่นของผักกาดเขียวปลีลูกผสมชั่วที่ 1 ลูกผสมชั่วที่ 1 ส่วนใหญ่มีความดีเด่นของลูกผสมระดับต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของพ่อ-แม่ ลูกผสมชั่วที่ 1 พันธุ์ BC9(4-4x4OR)x19H9 มีความดีเด่นของลูกผสม ในด้านของน้ำหนักผลผลิตต่อไร่ น้ำหนักปลีก่อนตัดแต่ง น้ำหนักปลีหลังตัดแต่ง เปอร์เซ็นต์การตัดแต่ง และอัตราส่วนของลำต้นในทางลบ เท่ากับร้อยละ 16.7, 33.5, 16.7, 17.8 และ 21.9 ตามลำดับ ความแน่นของปลีและอัตราส่วนของหัวแสดงออกในทางบวก ซึ่งมีค่าความดีเด่น 42.5 และ 1.6 ตามลาดับ และความดีเด่นของลูกผสมที่เหนือกว่าพ่อหรือแม่ที่ดีที่สุดในด้านผลผลิตต่อไร่ พบว่า พันธุ์ BC11(4-4x4OR)x2M BC9(4-4x4OR)x2M BC9(4-3x19H)x2M BC9(4-4x4OR)x19H9 BC9(4-4x2M)x19H9 BC9(4-4x2M)x4OR และ BC11(4-4x4OR)x19H16 แสดงความดีเด่นในทางลบ เท่ากับร้อยละ 50.6, 50.5, 41.3, 35.1, 27.2, 16.0 และ 13.9 ตามลำดับ ส่วนความดีเด่นเหนือกว่าพันธุ์มาตรฐานหรือพันธุ์ที่ปลูกเป็นการค้าในด้านผลผลิตต่อไร่ พบว่า ลูกผสมชั่วที่ 1 พันธุ์ BC11(4-4x4OR)x2M BC9(4-4x4OR)x2M BC9(4-4x4OR)x19H9 BC9(4-3x19H)x2M BC9(4-4x2M)x19H9 BC11(4-4x4OR)x19H16 และ BC9(4-4x2M)x4OR แสดงความดีเด่นในทางลบ เท่ากับร้อยละ 47.4, 47.3, 38.6, 37.5, 31.1, 23.8 และ 16.9 ตามลำดับ 2019-05-07T10:02:04Z 2019-05-07T10:02:04Z 2557 บทความวารสาร 0857-0842 http://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=125&CID=916 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64376 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
description |
วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) |
format |
บทความวารสาร |
author |
ธีรวัฒน์ สีทอง มณีฉัตร นิกรพันธุ์ |
spellingShingle |
ธีรวัฒน์ สีทอง มณีฉัตร นิกรพันธุ์ การประเมินพ่อและแม่พันธุ์เพื่อการผลิตลูกผสมชั่วที่ 1 ของผักกาดเขียวปลี |
author_facet |
ธีรวัฒน์ สีทอง มณีฉัตร นิกรพันธุ์ |
author_sort |
ธีรวัฒน์ สีทอง |
title |
การประเมินพ่อและแม่พันธุ์เพื่อการผลิตลูกผสมชั่วที่ 1 ของผักกาดเขียวปลี |
title_short |
การประเมินพ่อและแม่พันธุ์เพื่อการผลิตลูกผสมชั่วที่ 1 ของผักกาดเขียวปลี |
title_full |
การประเมินพ่อและแม่พันธุ์เพื่อการผลิตลูกผสมชั่วที่ 1 ของผักกาดเขียวปลี |
title_fullStr |
การประเมินพ่อและแม่พันธุ์เพื่อการผลิตลูกผสมชั่วที่ 1 ของผักกาดเขียวปลี |
title_full_unstemmed |
การประเมินพ่อและแม่พันธุ์เพื่อการผลิตลูกผสมชั่วที่ 1 ของผักกาดเขียวปลี |
title_sort |
การประเมินพ่อและแม่พันธุ์เพื่อการผลิตลูกผสมชั่วที่ 1 ของผักกาดเขียวปลี |
publisher |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ |
publishDate |
2019 |
url |
http://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=125&CID=916 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64376 |
_version_ |
1681426070371303424 |