การออกแบบกับดักฟีโรโมนเพศสังเคราะห์ เพื่อควบคุมผีเสื้อหนอนใยผักในการผลิตกะหล่ำปลีบนพื้น ที่สูง

วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อาทิตยา ทองคำกูล, จิราพร กุลสาริน, ไสว บูรณพานิชพันธุ์
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 2019
Online Access:http://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=127&CID=938
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64402
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-64402
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-644022019-05-07T10:02:06Z การออกแบบกับดักฟีโรโมนเพศสังเคราะห์ เพื่อควบคุมผีเสื้อหนอนใยผักในการผลิตกะหล่ำปลีบนพื้น ที่สูง Synthetic Sex Pheromone Trap Designs for Controlling Diamondback Moth in Cabbage Production on Highland อาทิตยา ทองคำกูล จิราพร กุลสาริน ไสว บูรณพานิชพันธุ์ วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ทำการทดสอบประสิทธิภาพในการดึงดูดผีเสื้อ หนอนใยผักเพศผู้ของกับดัก 2 แบบ คือ wing spin trap และ delta spin trap โดยใช้ร่วมกับสารฟีโรโมนเพศสังเคราะห์Z-11-hexadecen-1-ol (alc) : compound A : compound B อัตรา 0.1:1:1 มิลลิกรัม ผสมกับสารชะลอการระเหย คือ solid paraffin ในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่โถ อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าหลังการวางกับดักเป็นเวลา 7, 14 และ 21 วัน กับดักแบบ wing spin trap สามารถดึงดูดผีเสื้อ หนอนใยผักเพศผู้ได้รวม 19.56, 19.11 และ 10.78 ตัวตามลำดับ มากกว่ากับดักแบบ delta spin trap ที่สามารถดึงดูดผีเสื้อ หนอนใยผักได้รวม 12.67, 13.94 และ 8.89 ตัวตามลำดับ จึงสรุปได้ว่ากับดักแบบ wing spin trap มีประสิทธิภาพใน การดึงดูดผีเสื้อ หนอนใยผักได้มากกว่าการใช้กับดักแบบ delta spin trap และพบว่าการวางกับดักฟีโรโมนนอกแปลงพร้อมกับวางภายในแปลงปลูกกะหล่ำปลี มีประสิทธิภาพในการดึงดูดผีเสิ้อ หนอนใยผักสูงกว่าการวางเฉพาะนอกแปลง หรือเฉพาะในแปลงเพียงอย่างเดียว 2019-05-07T10:02:06Z 2019-05-07T10:02:06Z 2558 บทความวารสาร 0857-0842 http://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=127&CID=938 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64402 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)
format บทความวารสาร
author อาทิตยา ทองคำกูล
จิราพร กุลสาริน
ไสว บูรณพานิชพันธุ์
spellingShingle อาทิตยา ทองคำกูล
จิราพร กุลสาริน
ไสว บูรณพานิชพันธุ์
การออกแบบกับดักฟีโรโมนเพศสังเคราะห์ เพื่อควบคุมผีเสื้อหนอนใยผักในการผลิตกะหล่ำปลีบนพื้น ที่สูง
author_facet อาทิตยา ทองคำกูล
จิราพร กุลสาริน
ไสว บูรณพานิชพันธุ์
author_sort อาทิตยา ทองคำกูล
title การออกแบบกับดักฟีโรโมนเพศสังเคราะห์ เพื่อควบคุมผีเสื้อหนอนใยผักในการผลิตกะหล่ำปลีบนพื้น ที่สูง
title_short การออกแบบกับดักฟีโรโมนเพศสังเคราะห์ เพื่อควบคุมผีเสื้อหนอนใยผักในการผลิตกะหล่ำปลีบนพื้น ที่สูง
title_full การออกแบบกับดักฟีโรโมนเพศสังเคราะห์ เพื่อควบคุมผีเสื้อหนอนใยผักในการผลิตกะหล่ำปลีบนพื้น ที่สูง
title_fullStr การออกแบบกับดักฟีโรโมนเพศสังเคราะห์ เพื่อควบคุมผีเสื้อหนอนใยผักในการผลิตกะหล่ำปลีบนพื้น ที่สูง
title_full_unstemmed การออกแบบกับดักฟีโรโมนเพศสังเคราะห์ เพื่อควบคุมผีเสื้อหนอนใยผักในการผลิตกะหล่ำปลีบนพื้น ที่สูง
title_sort การออกแบบกับดักฟีโรโมนเพศสังเคราะห์ เพื่อควบคุมผีเสื้อหนอนใยผักในการผลิตกะหล่ำปลีบนพื้น ที่สูง
publisher มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
publishDate 2019
url http://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=127&CID=938
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64402
_version_ 1681426075228307456