สัณฐานวิทยาเมล็ดและสารประกอบโพลีฟีนอลของลำไย

วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุรินทร์ นิลสำราญจิต, สุริยา ตาเที่ยง
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 2019
Online Access:http://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=128&CID=951
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64420
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-64420
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-644202019-05-07T10:02:07Z สัณฐานวิทยาเมล็ดและสารประกอบโพลีฟีนอลของลำไย Seed Morphology and Polyphenolic Compounds of Longan สุรินทร์ นิลสำราญจิต สุริยา ตาเที่ยง วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ลักษณะทางสัณฐานวิทยาเมล็ดและสารประกอบโพลีฟีนอลของลำไยพันธุ์ต่าง ๆ ที่ปลูกในแปลงรวบรวมเชื้อพันธุ์ของสถานีวิจัยและพัฒนาลำไยหริภุญไชยได้ศึกษาระยะผลแก่ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 โดยแยกการศึกษาพันธุ์ลำไยเป็นกลุ่มที่ 1 พันธุ์ที่ปลูกในภาคเหนือของประเทศไทยและภูมิภาคอื่น ๆ จำนวน 8 พันธุ์ กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มพันธุ์ดอ จำนวน 17 พันธุ์ โดยศึกษาจากลักษณะกายภาพของเมล็ดและการหาปริมาณสารประกอบโพลีฟีนอลด้วยวิธีโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะเมล็ดของพันธุ์เพชรยะลา เถา และเวียดนาม มีขนาดใหญ่กว่าพันธุ์ที่มีการปลูกทางภาคเหนือ ขณะที่พันธุ์พวงทองมีขนาดเมล็ดเล็กที่สุดในทุกลักษณะที่ศึกษา รูปร่างของเมล็ดในบางพันธุ์สามารถใช้จำแนกเป็นลักษณะเฉพาะพันธุ์ได้ ส่วนปริมาณสารประกอบโพลีฟีนอลในเมล็ด พบว่าปริมาณกรดแกลลิกน้อยกว่ากรดเอลลาจิก ในพันธุ์เถามีปริมาณกรดทั้งสองชนิดน้อยกว่าทุกพันธุ์ที่ศึกษา การเปรียบเทียบเฉพาะในกลุ่มพันธุ์ดอแสดงให้เห็นว่าพันธุ์ดออัณฑะสุนัขเป็นพันธุ์ที่มีขนาดเมล็ดใหญ่ แต่มีปริมาณสารประกอบโพลีฟีนอลน้อย โดยพันธุ์ดอก้านแข็งมีปริมาณกรดแกลลิกและกรดเอลลาจิกสูง มีค่าเท่ากับ 1.21 ±0.14 และ 2.22 ±0.14 มิลลิกรัมต่อกรัม ตามลำดับ 2019-05-07T10:02:07Z 2019-05-07T10:02:07Z 2558 บทความวารสาร 0857-0842 http://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=128&CID=951 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64420 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)
format บทความวารสาร
author สุรินทร์ นิลสำราญจิต
สุริยา ตาเที่ยง
spellingShingle สุรินทร์ นิลสำราญจิต
สุริยา ตาเที่ยง
สัณฐานวิทยาเมล็ดและสารประกอบโพลีฟีนอลของลำไย
author_facet สุรินทร์ นิลสำราญจิต
สุริยา ตาเที่ยง
author_sort สุรินทร์ นิลสำราญจิต
title สัณฐานวิทยาเมล็ดและสารประกอบโพลีฟีนอลของลำไย
title_short สัณฐานวิทยาเมล็ดและสารประกอบโพลีฟีนอลของลำไย
title_full สัณฐานวิทยาเมล็ดและสารประกอบโพลีฟีนอลของลำไย
title_fullStr สัณฐานวิทยาเมล็ดและสารประกอบโพลีฟีนอลของลำไย
title_full_unstemmed สัณฐานวิทยาเมล็ดและสารประกอบโพลีฟีนอลของลำไย
title_sort สัณฐานวิทยาเมล็ดและสารประกอบโพลีฟีนอลของลำไย
publisher มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
publishDate 2019
url http://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=128&CID=951
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64420
_version_ 1681426078665539584