การใช้วิธีวิเคราะห์การจัดกลุ่มหมู่บ้าน เพื่อส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่

วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พหล ศักดิ์คะทัศน์, สุรชัย กังวล
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 2019
Online Access:http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00133_C01005.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64452
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-64452
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-644522019-05-07T10:02:08Z การใช้วิธีวิเคราะห์การจัดกลุ่มหมู่บ้าน เพื่อส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่ Using Cluster Analysis to Group Villages for Promoting Organic Agriculture in Chiang Mai Province พหล ศักดิ์คะทัศน์ สุรชัย กังวล วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาตัวชี้วัดที่เหมาะสมในการจัดกลุ่มหมู่บ้านตามลักษณะพื้นที่การทาการเกษตร และ 2) เพื่อจัดกลุ่มหมู่บ้านชนบท จำนวน 4 อำเภอ ได้แก่ แม่ริม สารภี ดอยสะเก็ดและสันทราย ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการทาเกษตรมาก ทาการสุ่มตำบล อำเภอละ 3 ตำบล ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ได้หมู่บ้านรวม 60 หมู่บ้าน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสารวจและการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์การจัดกลุ่ม (cluster analysis) ผลจากวิจัยพบว่าตัวชี้วัดที่ใช้จัดกลุ่มหมู่บ้านชนบทมี 6 ตัวชี้วัด คือ 1) ร้อยละของพื้นที่ ที่ไม่มีการทาเกษตรเคมีอย่างเข้มข้นมาไม่น้อยกว่า 3 ปี 2) ร้อยละของลักษณะพื้นที่ค่อนข้างราบและโล่งแจ้ง 3) ร้อยละของพื้นที่ที่ห่างจากโรงงานอุตสาหกรรมเกิน 1 กิโลเมตร 4) ร้อยละของพื้นที่ที่อยู่ห่างจากแปลงเกษตรที่ใช้สารเคมีอย่างเข้มข้น 5) ร้อยละของพื้นที่ ที่มีถนนทางหลวงสายหลักผ่าน และ 6) ร้อยละของพื้นที่ ที่มีแหล่งน้าที่ปลอดจากสารพิษปนเปื้อน ผลการวิเคราะห์การจัดกลุ่มหมู่บ้านชนบทที่เหมาะสมในการทาเกษตรอินทรีย์ สามารถจัดกลุ่มได้ 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ 1) หมู่บ้านที่มีความเหมาะสมมาก มีจำนวน 31 หมู่บ้าน 2) หมู่บ้านที่เหมาะสมปานกลาง จำนวน 24 หมู่บ้าน และ 3) หมู่บ้านที่เหมาะสมในระดับน้อย มีจำนวน 5 หมู่บ้าน 2019-05-07T10:02:08Z 2019-05-07T10:02:08Z 2559 บทความวารสาร 0857-0842 http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00133_C01005.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64452 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)
format บทความวารสาร
author พหล ศักดิ์คะทัศน์
สุรชัย กังวล
spellingShingle พหล ศักดิ์คะทัศน์
สุรชัย กังวล
การใช้วิธีวิเคราะห์การจัดกลุ่มหมู่บ้าน เพื่อส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่
author_facet พหล ศักดิ์คะทัศน์
สุรชัย กังวล
author_sort พหล ศักดิ์คะทัศน์
title การใช้วิธีวิเคราะห์การจัดกลุ่มหมู่บ้าน เพื่อส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่
title_short การใช้วิธีวิเคราะห์การจัดกลุ่มหมู่บ้าน เพื่อส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่
title_full การใช้วิธีวิเคราะห์การจัดกลุ่มหมู่บ้าน เพื่อส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่
title_fullStr การใช้วิธีวิเคราะห์การจัดกลุ่มหมู่บ้าน เพื่อส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่
title_full_unstemmed การใช้วิธีวิเคราะห์การจัดกลุ่มหมู่บ้าน เพื่อส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่
title_sort การใช้วิธีวิเคราะห์การจัดกลุ่มหมู่บ้าน เพื่อส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่
publisher มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
publishDate 2019
url http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00133_C01005.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64452
_version_ 1681426084713725952