ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลือกว่านหางจระเข้ในการควบคุมหนอนใยผัก

วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ปัณรสี สู่ศิริรัตน์
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 2019
Online Access:http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00134_C01016.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64475
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-64475
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-644752019-05-07T10:02:09Z ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลือกว่านหางจระเข้ในการควบคุมหนอนใยผัก Efficacy of Aloe Rind Extracts on Diamondback Moth Larva Control ปัณรสี สู่ศิริรัตน์ วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลือกว่านหางจระเข้ (Aloe vera L. Burm. f.) ในการควบคุมหนอนใยผัก (Plutella xylostella L.) เมื่อนำสารสกัดโดยใช้เอทานอลด้วยวิธีซอกซ์เลต (Soxhlet extraction) เพื่อทดสอบการไล่ การยับยั้งการกินอาหาร และอัตราการตายของหนอนใยผักพบว่าการไล่เมื่อเวลาผ่านไป 5 ชั่วโมง ความเข้มข้นที่ 1.0, 2.0 และ 3.0% (w/v)ให้เปอร์เซ็นต์การไล่ 40.1-60.00 % ความเป็นสารไล่อยู่ระดับ 3 ส่วนที่ความเข้มข้น 4.0 และ 5.0% w/v มีค่า 60.1-80.00% ความเป็นสารไล่อยู่ระดับ 4 สำหรับการทดสอบการยับยั้งการกินอาหารพบว่าค่า median antifeedant index; AFI50ที่ 24 ชั่วโมงเท่ากับ 2.97%( w/v)และค่าอัตราสำหรับการตาย 100% อยู่ที่ความเข้มข้น 3% (w/v) ขณะที่ค่า LC50 ที่ 72 ชั่วโมงเท่ากับ 1.83% และผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงระดับเอนไซม์ทำลายพิษ 2 ชนิด คือ เอสเทอเรสและ กลูตาไธโอน เอส-ทรานสเฟอเรสไม่พบความแตกต่างของเอนไซม์ทำลายพิษ 2 ชนิดในหนอนใยผักทุกรุ่นที่ความเข้มข้นเดียวกัน 2019-05-07T10:02:09Z 2019-05-07T10:02:09Z 2559 บทความวารสาร 0857-0842 http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00134_C01016.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64475 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)
format บทความวารสาร
author ปัณรสี สู่ศิริรัตน์
spellingShingle ปัณรสี สู่ศิริรัตน์
ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลือกว่านหางจระเข้ในการควบคุมหนอนใยผัก
author_facet ปัณรสี สู่ศิริรัตน์
author_sort ปัณรสี สู่ศิริรัตน์
title ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลือกว่านหางจระเข้ในการควบคุมหนอนใยผัก
title_short ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลือกว่านหางจระเข้ในการควบคุมหนอนใยผัก
title_full ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลือกว่านหางจระเข้ในการควบคุมหนอนใยผัก
title_fullStr ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลือกว่านหางจระเข้ในการควบคุมหนอนใยผัก
title_full_unstemmed ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลือกว่านหางจระเข้ในการควบคุมหนอนใยผัก
title_sort ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลือกว่านหางจระเข้ในการควบคุมหนอนใยผัก
publisher มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
publishDate 2019
url http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00134_C01016.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64475
_version_ 1681426089176465408