การใช้แอคติโนมัยซีทจากดินเพื่อยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum สาเหตุโรคเหี่ยวเขียวของมะเขือเทศ

วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อรอุมา เรืองวงษ์, เบญจวรรณ ใจจันทรา
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 2019
Online Access:http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00135_C01029.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64494
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-64494
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-644942019-05-07T10:02:10Z การใช้แอคติโนมัยซีทจากดินเพื่อยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum สาเหตุโรคเหี่ยวเขียวของมะเขือเทศ Using of Soil Actinomycetes to Inhibit Ralstonia solanacearum Causal Agent of Tomato Wilt Disease อรอุมา เรืองวงษ์ เบญจวรรณ ใจจันทรา วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) การแยกเชื้อแอคติโนมัยซีทจากดินบริเวณรอบรากของต้นมะเขือเทศในแปลงปลูกของสถานีเกษตรหลวง อินทนนท์และศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง สามารถแยกเชื้อได้จำนวน 126 ไอโซเลท เมื่อคัดเลือกเชื้อที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum สาเหตุโรคเหี่ยวเขียวของมะเขือเทศ ด้วยวิธี dual culture บนอาหาร NA พบแอคติโนมัยซีทที่เป็นปฏิปักษ์ จำนวน 17 ไอโซเลท โดยไอโซเลทที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการยับยั้งการเจริญของเชื้อสาเหตุโรค คือ ไอโซเลท T-11 ซึ่งมีความกว้างบริเวณยับยั้ง เท่ากับ 16.50 มิลลิเมตร เมื่อนำไอโซเลท T-11 มาตรวจสอบการสร้างสารสำคัญบางชนิด พบว่าไอโซเลท T-11 สามารถสร้างสาร siderophore และสร้างเอนไซม์เซลลูเลสบนอาหารทดสอบได้ และเมื่อทำการจัดจำแนกชนิดของไอโซเลท T-11 โดยการวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์บริเวณยีน 16S rRNA พบว่าไอโซเลท T-11 มีลำดับนิวคลีโอไทด์บริเวณดังกล่าวเหมือนกับเชื้อ Streptomyces mirabilis ถึง 96 เปอร์เซ็นต์ 2019-05-07T10:02:10Z 2019-05-07T10:02:10Z 2560 บทความวารสาร 0857-0842 http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00135_C01029.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64494 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)
format บทความวารสาร
author อรอุมา เรืองวงษ์
เบญจวรรณ ใจจันทรา
spellingShingle อรอุมา เรืองวงษ์
เบญจวรรณ ใจจันทรา
การใช้แอคติโนมัยซีทจากดินเพื่อยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum สาเหตุโรคเหี่ยวเขียวของมะเขือเทศ
author_facet อรอุมา เรืองวงษ์
เบญจวรรณ ใจจันทรา
author_sort อรอุมา เรืองวงษ์
title การใช้แอคติโนมัยซีทจากดินเพื่อยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum สาเหตุโรคเหี่ยวเขียวของมะเขือเทศ
title_short การใช้แอคติโนมัยซีทจากดินเพื่อยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum สาเหตุโรคเหี่ยวเขียวของมะเขือเทศ
title_full การใช้แอคติโนมัยซีทจากดินเพื่อยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum สาเหตุโรคเหี่ยวเขียวของมะเขือเทศ
title_fullStr การใช้แอคติโนมัยซีทจากดินเพื่อยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum สาเหตุโรคเหี่ยวเขียวของมะเขือเทศ
title_full_unstemmed การใช้แอคติโนมัยซีทจากดินเพื่อยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum สาเหตุโรคเหี่ยวเขียวของมะเขือเทศ
title_sort การใช้แอคติโนมัยซีทจากดินเพื่อยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย ralstonia solanacearum สาเหตุโรคเหี่ยวเขียวของมะเขือเทศ
publisher มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
publishDate 2019
url http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00135_C01029.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64494
_version_ 1681426092679757824