ปริมาณฟักข้าวที่เหมาะสมในการทำน้ำสลัดชนิดข้น
วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Format: | บทความวารสาร |
Language: | Tha |
Published: |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
2019
|
Online Access: | http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00135_C01038.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64501 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-64501 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-645012019-05-07T10:02:10Z ปริมาณฟักข้าวที่เหมาะสมในการทำน้ำสลัดชนิดข้น Appropriate Quantity of Gac Fruit in Making Salad Cream เพ็ญศิริ คงสิทธิ์ วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการผลิตน้ำสลัดชนิดข้นผสมฟักข้าว โดยคัดเลือกสูตรพื้นฐานของน้ำสลัดชนิดข้นจากการยอมรับของผู้บริโภค โดยพบว่าสูตรที่เหมาะสมประกอบไปด้วย พริกไทยป่น เกลือ มัสตาร์ด ไข่แดง น้ำส้มสายชู น้ำตาลทราย และน้ำมันพืชในสัดส่วน 0.12, 0.28, 0.82, 10.91, 14.89, 21.17 และ 51.81% ตามลำดับ และปริมาณฟักข้าวที่เหมาะสมในการทำน้ำสลัดชนิดข้นผสมฟักข้าว คือ ร้อยละ 3 ซึ่งให้ลักษณะใกล้เคียงน้ำสลัดสูตรควบคุมที่ผู้บริโภคให้การยอมรับมากที่สุด โดยมีค่าปริมาณของแข็งที่ละลายทั้งหมดเท่ากับ 61.52 องศาบริกซ์ ค่าความเป็นกรด-ด่างเท่ากับ 3.27 กิจกรรมต้านอนุมูลอิสระเท่ากับ 0.80 กรัมต่อมิลลิลิตร ค่าความหนืดเท่ากับ 85.47 เซนติพอยส์ ค่าความสว่าง (L*) ค่าสีแดง (a*)และค่าสีเหลือง (b*) เท่ากับ 70.43, 22.71 และ 41.12 ตามลำดับ และศึกษาผลของระยะเวลาการเก็บรักษาต่อคุณภาพของน้ำสลัดชนิดข้นผสมฟักข้าว โดยการเก็บรักษาที่อุณหภูมิตู้เย็น (4 ± 2 °C) เป็นเวลา 4 สัปดาห์ พบว่า ค่าความเป็นกรด-ด่าง ความหืน ความหนืด และค่าสีเหลืองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่กิจกรรมต้านอนุมูลอิสระ ค่าความสว่าง และค่าสีแดง มีแนวโน้มลดลง โดยพบปริมาณจุลินทรีย์ไม่เกินที่มาตราฐานกำหนด 2019-05-07T10:02:10Z 2019-05-07T10:02:10Z 2560 บทความวารสาร 0857-0842 http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00135_C01038.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64501 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
description |
วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) |
format |
บทความวารสาร |
author |
เพ็ญศิริ คงสิทธิ์ |
spellingShingle |
เพ็ญศิริ คงสิทธิ์ ปริมาณฟักข้าวที่เหมาะสมในการทำน้ำสลัดชนิดข้น |
author_facet |
เพ็ญศิริ คงสิทธิ์ |
author_sort |
เพ็ญศิริ คงสิทธิ์ |
title |
ปริมาณฟักข้าวที่เหมาะสมในการทำน้ำสลัดชนิดข้น |
title_short |
ปริมาณฟักข้าวที่เหมาะสมในการทำน้ำสลัดชนิดข้น |
title_full |
ปริมาณฟักข้าวที่เหมาะสมในการทำน้ำสลัดชนิดข้น |
title_fullStr |
ปริมาณฟักข้าวที่เหมาะสมในการทำน้ำสลัดชนิดข้น |
title_full_unstemmed |
ปริมาณฟักข้าวที่เหมาะสมในการทำน้ำสลัดชนิดข้น |
title_sort |
ปริมาณฟักข้าวที่เหมาะสมในการทำน้ำสลัดชนิดข้น |
publisher |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ |
publishDate |
2019 |
url |
http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00135_C01038.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64501 |
_version_ |
1681426094021935104 |