วิธีการทำให้เซลล์แตกเพื่อการสกัดน้ำมันจากสาหร่ายขนาดเล็ก

วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ผกามาศ ชิดเชื้อ, ปติรุจ จิรกาลวงศ์, อรอุมา ตนะดุลย์
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 2019
Online Access:http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00136_C01042.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64502
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-64502
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-645022019-05-07T10:02:10Z วิธีการทำให้เซลล์แตกเพื่อการสกัดน้ำมันจากสาหร่ายขนาดเล็ก Cells Disruption Methods for Lipid Extraction from Microalgae ผกามาศ ชิดเชื้อ ปติรุจ จิรกาลวงศ์ อรอุมา ตนะดุลย์ วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ทดสอบประสิทธิภาพวิธีทำให้เซลล์สาหร่ายแตกด้วยวิธีแบบขั้นตอนเดียว ได้แก่ bead vortexing (B), microwave (M) และวิธีการ ultrasonic (U) และทำให้เซลล์แตกแบบสองขั้นตอน ได้แก่ microwave และ bead vortexing (MB), microwave และ ultrasonic (MU) และวิธีการ ultrasonic และ bead vortexing (UB) โดยใช้สารสกัดที่เป็นส่วนผสมของคลอโรฟอร์มและเมทานอล (2:1) ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าสายพันธุ์สาหร่าย วิธีการทำให้เซลล์แตก และปฏิสัมพันธ์ของสายพันธุ์สาหร่ายและวิธีทำให้เซลล์แตกมีผลต่อปริมาณของน้ำมันที่สกัดได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ปริมาณน้ำมันที่ได้จากสาหร่ายไอโซเลท A มีค่าเท่ากับ 9.35, 8.32, 8.09, 8.93, 8.04 และ 7.90% ขณะที่สาหร่ายไอโซเลท B ให้ปริมาณน้ำมันเท่ากับ 6.45, 9.00, 8.65, 7.22, 8.08 และ 5.81% เมื่อใช้วิธีการ B, M, U, MB, MU และวิธี UB ตามลำดับ จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการทำให้เซลล์แตกแบบขั้นตอนเดียวให้ปริมาณน้ำมันสูงกว่าการทำให้เซลล์แตกแบบสองขั้นตอนจากสาหร่ายทั้งสองไอโซเลท การทำให้เซลล์แตกด้วยวิธีเม็ดบีด (B) เป็นวิธีการที่เหมาะสมแก่การนำไปใช้สกัดน้ำมันจากสาหร่ายไอโซเลท A เพื่อให้ได้ปริมาณน้ำมันสูงและประหยัดเวลาในการสกัด อย่างไรก็ตาม การใช้ไมโครเวฟเป็นวิธีที่เหมาะสมกับสาหร่ายไอโซเลท B เพราะนอกจากให้น้ำมันสูงและยังเป็นวิธีการที่ง่าย สะดวก รวดเร็วและปลอดภัย 2019-05-07T10:02:10Z 2019-05-07T10:02:10Z 2560 บทความวารสาร 0857-0842 http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00136_C01042.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64502 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)
format บทความวารสาร
author ผกามาศ ชิดเชื้อ
ปติรุจ จิรกาลวงศ์
อรอุมา ตนะดุลย์
spellingShingle ผกามาศ ชิดเชื้อ
ปติรุจ จิรกาลวงศ์
อรอุมา ตนะดุลย์
วิธีการทำให้เซลล์แตกเพื่อการสกัดน้ำมันจากสาหร่ายขนาดเล็ก
author_facet ผกามาศ ชิดเชื้อ
ปติรุจ จิรกาลวงศ์
อรอุมา ตนะดุลย์
author_sort ผกามาศ ชิดเชื้อ
title วิธีการทำให้เซลล์แตกเพื่อการสกัดน้ำมันจากสาหร่ายขนาดเล็ก
title_short วิธีการทำให้เซลล์แตกเพื่อการสกัดน้ำมันจากสาหร่ายขนาดเล็ก
title_full วิธีการทำให้เซลล์แตกเพื่อการสกัดน้ำมันจากสาหร่ายขนาดเล็ก
title_fullStr วิธีการทำให้เซลล์แตกเพื่อการสกัดน้ำมันจากสาหร่ายขนาดเล็ก
title_full_unstemmed วิธีการทำให้เซลล์แตกเพื่อการสกัดน้ำมันจากสาหร่ายขนาดเล็ก
title_sort วิธีการทำให้เซลล์แตกเพื่อการสกัดน้ำมันจากสาหร่ายขนาดเล็ก
publisher มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
publishDate 2019
url http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00136_C01042.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64502
_version_ 1681426094218018816