ผลของรูปแบบรังไม้ประกอบต่อการจัดวางถ้วยอาหารของชันโรง Tetragonula laeviceps Species Complex
วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Format: | บทความวารสาร |
Language: | Tha |
Published: |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
2019
|
Online Access: | http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00139_C01087.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64548 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-64548 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-645482019-05-07T10:02:13Z ผลของรูปแบบรังไม้ประกอบต่อการจัดวางถ้วยอาหารของชันโรง Tetragonula laeviceps Species Complex Effects of Hive Patterns on Storage Pot Arrangement of Stingless Bees, Tetragonula laeviceps Species Complex สมฤทัย ใจเย็น จิราพร กุลสาริน ไสว บูรณพานิชพันธุ์ กนกวรรณ คำยอดใจ วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ชันโรง Tetragonula laeviceps species complex เป็นแมลงที่มีประโยชน์ต่อการเกษตรและระบบนิเวศ ช่วยผสมเกสรดอกไม้หลายชนิดอย่างมีประสิทธิภาพและผลิตน้ำผึ้งชันโรงที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงและขายได้ราคาดี อย่างไรก็ตาม การเก็บเกี่ยวน้ำผึ้งชันโรงในรังไม้มาตรฐานที่ใช้เลี้ยงทั่วไปยังทำได้ยำก เนื่องจากโครงสร้ำงของถ้วยเก็บน้ำผึ้งและถ้วยเก็บเกสร กลุ่มไข่และกลุ่มตัวอ่อนอยู่ทับซ้อนกัน ดังนั้นจึงได้ทำการศึกษาผลของรูปแบบรังไม้ประกอบต่อการจัดวางถ้วยเก็บอาหารของชันโรงประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนแรกศึกษารูปแบบรังที่เหมาะสมและง่ายต่อการเก็บเกี่ยวน้ำผึ้งชันโรง ด้วยรังไม้ประกอบที่มีรูปแบบรังที่แตกต่างกัน 4 แบบ 1. รังไม้ประกอบขนาดมาตรฐาน (SH) 2. รังไม้ประกอบขนาดมาตรฐานภายในวางไม้ไขว้เป็นมุมฉาก (SCH) 3. รังไม้ประกอบขนาดมาตรฐานภายในวางไม้ยาวคู่ขนาน (SPH) และ 4. รังไม้ประกอบยาว (LH) ทำการแยกรังชันโรงใส่ในรังไม้แต่ละรูปแบบ พบว่ารังไม้ SCH และรังไม้ SPH มีการสร้างกลุ่มไข่และตัวอ่อนแยกจากกลุ่มถ้วยเก็บอาหารอย่างชัดเจน ส่วนที่ 2 ศึกษารูปแบบรังไม้ประกอบที่มีผลต่อการจัดเรียงถ้วยเก็บอาหารของชันโรงในรังไม้ประกอบที่มีรูปแบบรังที่แตกต่างกัน 5 รูปแบบ คือ 1. รังไม้ประกอบขนาดมาตรฐาน (SH) 2. รังไม้ประกอบขนาดมาตรฐานที่วางไม้ไขว้มุมฉากและมีตาข่ายอยู่ด้านบนไม้ (SCNH) 3. รังไม้ประกอบเล็กสองชั้นเชื่อมต่อกับรังไม้ประกอบยาวด้านหน้า (LCDH) 4. รังไม้ประกอบเล็กสองชั้นเชื่อมต่อกับรังไม้ประกอบยาวที่แบ่งเป็นสามช่อง (TLCDH) และ 5. รังไม้ประกอบสองชั้น (DH) ทำการแยกรังชันโรงโดยนำกลุ่มไข่และกลุ่มตัวอ่อน และถ้วยเก็บอาหารที่ปริมาณเท่ากันใส่ในรังไม้ประกอบแต่ละรูปแบบ สังเกตและบันทึกผลการพัฒนาของโครงสร้างรังชันโรงโดยชั่งน้ำหนักทุกสัปดาห์และถ่ายภาพทุกเดือน พบว่ามีการจัดวางตัวของกลุ่มไข่และกลุ่มตัวอ่อน รวมทั้งถ้วยเก็บอาหารทับซ้อนกันในรังไม้สี่รูปแบบ (SH, LCDH, TLCDH และ DH) แต่สำหรับรังไม้ SCNH มีการจัดวางตัวของกลุ่มไข่และกลุ่มตัวอ่อนรวมทั้งถ้วยเก็บอาหารแยกออกจากกันอย่างชัดเจน โดยกลุ่มไข่และกลุ่มตัวอ่อนจัดเรียงอยู่ด้านบนตาข่าย ส่วนถ้วยเก็บอาหารอยู่ด้านล่างของตาข่าย และมีน้ำหนักสุดท้ายของรังชันโรงสูงสุดเท่ากับ 1.13 กิโลกรัม ขณะที่รังแบบ SH, LCDH, TLCDH และ DH มีน้ำหนักของรังชันโรงเท่ากับ 0.66, 0.66, 0.69 และ 0.20 กิโลกรัม ตามลำดับ ส่วนที่ 3 ศึกษาหาขนาดที่เหมาะสมของรังไม้ SCNH พบว่ารังไม้ SCNH ขนาด 21x30x20 เซนติเมตร มีความเหมาะสมที่สุด เนื่องจากให้น้ำหนักของรังชันโรงสูงสุดเท่ากับ 1.20 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับรังไม้ขนาดอื่น 2019-05-07T10:02:13Z 2019-05-07T10:02:13Z 2561 บทความวารสาร 0857-0842 http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00139_C01087.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64548 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
description |
วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) |
format |
บทความวารสาร |
author |
สมฤทัย ใจเย็น จิราพร กุลสาริน ไสว บูรณพานิชพันธุ์ กนกวรรณ คำยอดใจ |
spellingShingle |
สมฤทัย ใจเย็น จิราพร กุลสาริน ไสว บูรณพานิชพันธุ์ กนกวรรณ คำยอดใจ ผลของรูปแบบรังไม้ประกอบต่อการจัดวางถ้วยอาหารของชันโรง Tetragonula laeviceps Species Complex |
author_facet |
สมฤทัย ใจเย็น จิราพร กุลสาริน ไสว บูรณพานิชพันธุ์ กนกวรรณ คำยอดใจ |
author_sort |
สมฤทัย ใจเย็น |
title |
ผลของรูปแบบรังไม้ประกอบต่อการจัดวางถ้วยอาหารของชันโรง Tetragonula laeviceps Species Complex |
title_short |
ผลของรูปแบบรังไม้ประกอบต่อการจัดวางถ้วยอาหารของชันโรง Tetragonula laeviceps Species Complex |
title_full |
ผลของรูปแบบรังไม้ประกอบต่อการจัดวางถ้วยอาหารของชันโรง Tetragonula laeviceps Species Complex |
title_fullStr |
ผลของรูปแบบรังไม้ประกอบต่อการจัดวางถ้วยอาหารของชันโรง Tetragonula laeviceps Species Complex |
title_full_unstemmed |
ผลของรูปแบบรังไม้ประกอบต่อการจัดวางถ้วยอาหารของชันโรง Tetragonula laeviceps Species Complex |
title_sort |
ผลของรูปแบบรังไม้ประกอบต่อการจัดวางถ้วยอาหารของชันโรง tetragonula laeviceps species complex |
publisher |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ |
publishDate |
2019 |
url |
http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00139_C01087.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64548 |
_version_ |
1681426103010328576 |