คุณลักษณะของที่ว่างทางสถาปัตยกรรมใน สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น: แนวทางการศึกษาสู่การ ออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย

วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: เจนยุทธ ล่อใจ, อรศิริ ปาณินท, เกรียงไกร เกิดศิริ
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 2019
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/68365/55671
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64590
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-64590
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-645902019-05-07T10:02:14Z คุณลักษณะของที่ว่างทางสถาปัตยกรรมใน สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น: แนวทางการศึกษาสู่การ ออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย Spatial Characteristics in Vernacular Architecture: Approaches to the design of contemporary architecture เจนยุทธ ล่อใจ อรศิริ ปาณินท เกรียงไกร เกิดศิริ วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน บทความ “คุณลักษณะของที่ว่างทางสถาปัตยกรรมในสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น: แนวทางการศึกษาสู่การออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย” มุ่งศึกษาประเด็นของ “ที่ว่างทางสถาปัตยกรรม” หรือที่เรียกโดยย่อว่า “ที่ว่าง” ประกอบขึ้นด้วย “รูปทรง (Form)” และ “พื้นที่ว่าง (Space)” ซึ่งมีความสัมพันธ์โดยตรงกับ “ปริมาตร (Volume)” ที่เกิดขึ้น เป็นมวลของรูปทรงทางกายภาพกับมวลของพื้นที่ว่างที่ผสมผสานเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่างแนบแน่นตลอดเวลา ส่วนของรูปทรง คือ องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมซึ่งเราสามารถมองเห็นและจับต้องได้ ต่างจากส่วนของพื้นที่ว่างที่ค่อนข้างเป็นนามธรรมมากกว่า ส่วนใหญ่การอธิบายถึงที่ว่างทางสถาปัตยกรรมจึงมักกล่าวถึงหรือให้ความสนใจไปในเรื่องของรูปร่าง และรูปทรงเพียงอย่างเดียว จนลืมเลือนความหมายที่แท้จริงของที่ว่างทางสถาปัตยกรรมไป นอกจากคุณลักษณะที่กล่าวมาข้างต้นนั้น ที่ว่างทางสถาปัตยกรรมยังก่อรูปขึ้นจากมิติต่างๆ ทางสังคมวัฒนธรรมที่ซับซ้อน ทั้งที่เกิดขึ้นเพื่อรองรับการใช้งานอย่างชัดเจนหรือไม่ก็ตาม คุณลักษณะของที่ว่างทางสถาปัตยกรรมจึงเป็นเหมือนผลรวมของปัจจัยแวดล้อมต่างๆ เหล่านั้น ที่เกิดเป็นภาพสะท้อนสาระซึ่งแฝงเร้นอยู่ภายใต้รูปลักษณ์ทางสถาปัตยกรรม การแปรเปลี่ยนไปของบริบททางสังคมไทยอย่างรวดเร็วในช่วงยุคสมัยใหม่ (Modernism) และหลังสมัยใหม่ (Post Modernism) ที่ความเคลื่อนไหวในแวดวงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมมีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และมีการรับเอารูปแบบ และแนวความคิดทางสถาปัตยกรรมตะวันตกเข้ามาอย่างมากมาย ประกอบกับการขยายตัวอย่างรวดเร็วด้านเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของผู้คนในช่วงเวลานั้น เป็นต้นเหตุสำคัญที่นำมาซึ่งลักษณะทางกายภาพของรูปแบบทางสถาปัตยกรรมตามแนวสากล เกิดคุณภาพของที่ว่างทางสถาปัตยกรรมที่ไม่สอดคล้องต่อความเป็นถิ่นที่ตั้งของประเทศไทย โดยเฉพาะสถาปัตยกรรมที่อยู่อาศัย เนื่องจากมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดโดยตรงกับมนุษย์ ต่อมาจึงเริ่มมีการศึกษาและให้ความสำคัญกับ “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น (Vernacular Architecture)” มากยิ่งขึ้น คุณค่าของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นนั้นเกิดขึ้นจากคุณลักษณะซึ่งสอดคล้องต่อ “ถิ่นที่ตั้ง (Site/Location)” ในความหมายของ “สถาปัตยกรรมแบบภูมิภาคนิยม (Regionalism)” จึงมีความเหมาะสมต่อการศึกษาและพัฒนาคุณลักษณะที่ว่างอันเกิดจากองค์ประกอบของรูปแบบและรูปทรงทางสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น เพื่อเป็นแนวทางสู่กระบวนการการออกแบบสถาปัตยกรรมใหม่ หรือที่คุ้นเคยกันในชื่อที่เรียกว่า “สถาปัตยกรรมร่วมสมัย (Contemporary Architecture)” ให้มีความสร้างสรรค์สอดคล้องเหมาะสมต่อบริบทของสังคมไทย 2019-05-07T10:02:14Z 2019-05-07T10:02:14Z 2015 บทความวารสาร 2351-0935 https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/68365/55671 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64590 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน
format บทความวารสาร
author เจนยุทธ ล่อใจ
อรศิริ ปาณินท
เกรียงไกร เกิดศิริ
spellingShingle เจนยุทธ ล่อใจ
อรศิริ ปาณินท
เกรียงไกร เกิดศิริ
คุณลักษณะของที่ว่างทางสถาปัตยกรรมใน สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น: แนวทางการศึกษาสู่การ ออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย
author_facet เจนยุทธ ล่อใจ
อรศิริ ปาณินท
เกรียงไกร เกิดศิริ
author_sort เจนยุทธ ล่อใจ
title คุณลักษณะของที่ว่างทางสถาปัตยกรรมใน สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น: แนวทางการศึกษาสู่การ ออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย
title_short คุณลักษณะของที่ว่างทางสถาปัตยกรรมใน สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น: แนวทางการศึกษาสู่การ ออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย
title_full คุณลักษณะของที่ว่างทางสถาปัตยกรรมใน สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น: แนวทางการศึกษาสู่การ ออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย
title_fullStr คุณลักษณะของที่ว่างทางสถาปัตยกรรมใน สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น: แนวทางการศึกษาสู่การ ออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย
title_full_unstemmed คุณลักษณะของที่ว่างทางสถาปัตยกรรมใน สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น: แนวทางการศึกษาสู่การ ออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย
title_sort คุณลักษณะของที่ว่างทางสถาปัตยกรรมใน สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น: แนวทางการศึกษาสู่การ ออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย
publisher มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/68365/55671
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64590
_version_ 1681426110835851264