การวิเคราะห์ปัจจัยเพื่อกำหนดวิธีปฏิบัติในการเชื่อมแบบ ทังสเตนอาร์คเพื่อลดการแตกร้าวสำหรับเหล็กกล้า เครื่องมืองานเย็น เอสเคดี 11
วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใ...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Format: | บทความวารสาร |
Language: | Tha |
Published: |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์
2019
|
Online Access: | http://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/23/5%CA%C1%CB%C1%D2%C2.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64612 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-64612 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-646122019-05-07T10:02:15Z การวิเคราะห์ปัจจัยเพื่อกำหนดวิธีปฏิบัติในการเชื่อมแบบ ทังสเตนอาร์คเพื่อลดการแตกร้าวสำหรับเหล็กกล้า เครื่องมืองานเย็น เอสเคดี 11 Factor Analysis for Determining Gas Tungsten Arc Welding Procedure in Order to Reduce Weld Cracking of Cold Work Tool Steel SKD 11 สมหมาย สารมาท วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแตกร้าวในแนวเชื่อม สำหรับการเชื่อมเหล็กกล้าเครื่องมืองานเย็นเอสเคดี 11 เพื่อหารูปแบบ และข้อกำหนดวิธีปฏิบัติในกระบวนการเชื่อมแบบ GTAW ซึ่งพบปัญหารอยแตกร้าวภายหลังจากการเชื่อมเพื่อซ่อมแซม โดยนำเทคนิคการออกแบบการทดลองแบบเชิงแฟกทอเรียลแบบเต็มจำนวน 24 เพื่อกรองปัจจัย 4 ปัจจัย คือ กระแส ไฟเชื่อม ความเร็วในการเชื่อม มุมแกนลวดทังสเตนอีเล็กโทรด และอุณหภูมิอุ่นชิ้นงานก่อนการเชื่อม โดยมีผลตอบเป็นสัดส่วนเปอร์เซ็นต์การแตกร้าว ซึ่งมีขอบเขตจำกัดของค่าคุณลักษณะจึงได้นำวิธีการแปลงข้อมูลผลตอบก่อนการวิเคราะห์ผล โดยวิธีที่เหมาะสม คือ Arcsin y ส่งผลให้ข้อมูลใหม่มีการกระจายตัวเป็นแบบปกติหรือใกล้เคียงมากขึ้น ค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนของข้อมูลที่แปลงแล้วเป็นอิสระต่อกันจากนั้นใช้การออกแบบการทดลองแบบบ๊อกซ์ - เบห์นเคนในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าระดับที่ดีที่สุดของแต่ละปัจจัยผลการศึกษาพบว่า เงื่อนไขที่เหมาะสมในการเชื่อมเหล็กกล้าเครื่องมืองานเย็น เอสเคดี 11 ที่สามารถควบคุมการแตกร้าวในแนวเชื่อมได้ คือ การปรับค่ากระแสไฟเชื่อมที่ 175 แอมแปร์ ความเร็วในการเชื่อมที่ 200 เซนติเมตรต่อนาทีอุณหภูมิอุ่นชิ้นงานก่อนการเชื่อมที่ 450 องศาเซลเซียส และในส่วนของมุมแกนลวดทังสเตนอีเล็กโทรดไม่มีผลต่อการแตกร้าวในแนวเชื่อมอย่างมีนัยสำคัญ จากการทดลองยืนยันผลเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นพบว่าไม่ปรากฏรอยแตกร้าวในแนวเชื่อม จากการตั้งค่าวิธีปฏิบัติงานดังกล่าว 2019-05-07T10:02:15Z 2019-05-07T10:02:15Z 2550 บทความวารสาร 0857-2178 http://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/23/5%CA%C1%CB%C1%D2%C2.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64612 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
description |
วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี |
format |
บทความวารสาร |
author |
สมหมาย สารมาท วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ |
spellingShingle |
สมหมาย สารมาท วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ การวิเคราะห์ปัจจัยเพื่อกำหนดวิธีปฏิบัติในการเชื่อมแบบ ทังสเตนอาร์คเพื่อลดการแตกร้าวสำหรับเหล็กกล้า เครื่องมืองานเย็น เอสเคดี 11 |
author_facet |
สมหมาย สารมาท วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ |
author_sort |
สมหมาย สารมาท |
title |
การวิเคราะห์ปัจจัยเพื่อกำหนดวิธีปฏิบัติในการเชื่อมแบบ
ทังสเตนอาร์คเพื่อลดการแตกร้าวสำหรับเหล็กกล้า
เครื่องมืองานเย็น เอสเคดี 11 |
title_short |
การวิเคราะห์ปัจจัยเพื่อกำหนดวิธีปฏิบัติในการเชื่อมแบบ
ทังสเตนอาร์คเพื่อลดการแตกร้าวสำหรับเหล็กกล้า
เครื่องมืองานเย็น เอสเคดี 11 |
title_full |
การวิเคราะห์ปัจจัยเพื่อกำหนดวิธีปฏิบัติในการเชื่อมแบบ
ทังสเตนอาร์คเพื่อลดการแตกร้าวสำหรับเหล็กกล้า
เครื่องมืองานเย็น เอสเคดี 11 |
title_fullStr |
การวิเคราะห์ปัจจัยเพื่อกำหนดวิธีปฏิบัติในการเชื่อมแบบ
ทังสเตนอาร์คเพื่อลดการแตกร้าวสำหรับเหล็กกล้า
เครื่องมืองานเย็น เอสเคดี 11 |
title_full_unstemmed |
การวิเคราะห์ปัจจัยเพื่อกำหนดวิธีปฏิบัติในการเชื่อมแบบ
ทังสเตนอาร์คเพื่อลดการแตกร้าวสำหรับเหล็กกล้า
เครื่องมืองานเย็น เอสเคดี 11 |
title_sort |
การวิเคราะห์ปัจจัยเพื่อกำหนดวิธีปฏิบัติในการเชื่อมแบบ
ทังสเตนอาร์คเพื่อลดการแตกร้าวสำหรับเหล็กกล้า
เครื่องมืองานเย็น เอสเคดี 11 |
publisher |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์ |
publishDate |
2019 |
url |
http://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/23/5%CA%C1%CB%C1%D2%C2.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64612 |
_version_ |
1681426114993455104 |