การพัฒนาดัชนีชี้วัดการดำเนินงานของโรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมส่งออก โดยเชื่อมโยงรางวัลคุณภาพกับ ดัชนีดุลยภาพ

วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ไพโรจน์ ยอดคำปา, วิมลิน สุขถมยา
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 2019
Online Access:http://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/22/4%E4%BE%E2%C3%A8%B9%EC.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64629
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-64629
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-646292019-05-07T10:02:17Z การพัฒนาดัชนีชี้วัดการดำเนินงานของโรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมส่งออก โดยเชื่อมโยงรางวัลคุณภาพกับ ดัชนีดุลยภาพ The Development of Performance Indices for Export Industries by Using Balanced Scorecard and Quality Awards ไพโรจน์ ยอดคำปา วิมลิน สุขถมยา วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างดัชนีชี้วัดการดำเนินงานที่เหมาะสมสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม โดยใช้เกณฑ์จากรางวัลคุณภาพ ได้แก่ The Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA), The Demming Application Prizeและ The European Foundation for Quality Management (EFQM) ซึ่งรางวัลคุณภาพทั้ง 3 อย่าง มีเกณฑ์การวัดที่ชัดเจน และเน้นให้ความสำคัญต่อการดำเนินงานในองค์กรที่คล้ายคลึงกันและต่างกันในบ้างข้อ จึงได้รวมเกณฑ์รางวัลคุณภาพทั้ง 3อย่าง แยกเป็นหมวดหมู่ให้สอดคล้องกับการวัดตามมุมมอง 4 ด้านตามดัชนีดุลยภาพ (Balanced Scorecard) โดยดัชนีชี้วัดที่ได้พัฒนาขึ้นมีทั้งสิ้น 63 ดัชนี แยกเป็นมุมมองด้านการเงินจำนวน 14 ดัชนีด้านลูกค้าจำนวน 13 ดัชนี ด้านกระบวนการภายในจำนวน 18 ดัชนี และด้านการเรียนรู้และพัฒนาจำนวน 18 ดัชนีวิธีการดำเนินการศึกษาได้รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับอุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยเลือกจากอุตสาหกรรมส่งออกที่มีมูลค่าการส่งออกมากเป็นอันดับต้นๆ ของไทย ได้แก่ อุตสาหกรรมผักและผลไม้แปรรูปอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ผลการวิจัยพบว่ามีความชัดเจนขึ้น สามารถปรับปรุงไปใช้ในการประเมิการดำเนินงานของโรงงานอุตสาหกรรมทั้งสี่ประเภทนี้ได้ และดัชนีชี้วัดการดำเนินงานที่พัฒนาขึ้นจะเป็นตัววัดการดำเนินงานของโรงงานอุตสาหกรรมได้ว่าอยู่ในระดับใดอุตสาหกรรมทั้งสี่ประเภทนี้เน้นให้ความสำคัญด้านการเงิน และกระบวนการภายในองค์กรอย่างมาก โดยอุตสาหกรรมผักและผลไม้แปรรูป และอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับให้ความสำคัญด้านการเงินมากที่สุด ส่วนอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มและอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ให้ความสำคัญด้านกระบวนการภายในมากที่สุดในการวิเคราะห์ปัจจัย สามารถแบ่งปัจจัยด้านการเงินได้ 4 ปัจจัยคือ กำไรสุทธิ ต้นทุนและกำไรต่อยอดขายยอดขายสินค้าและมูลค่าสูญเสีย และต้นทุนการผลิตและการดำเนินงาน ปัจจัยด้านลูกค้าแบ่งได้เป็น 4 ปัจจัยคือ การสร้างภาพลักษณ์แก่องค์กร การแก้ไขข้อร้องเรียนของลูกค้า ส่วนแบ่งในการขายสินค้า และความพึงพอใจของลูกค้าและความใส่ใจด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจัยด้านกระบวนการภายในแบ่งได้เป็น 5 ปัจจัยคือ การจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการผลิต การจัดการด้านคุณภาพสินค้า การจัดการด้านวัตถุดิบและการส่งมอบสินค้า และค่าใช้จ่ายด้านพลังงานและความปลอดภัยในการทำงาน ปัจจัยด้านการเรียนรู้และพัฒนาแบ่งได้เป็น 4 ปัจจัยคือ การอบรมพนักงาน วิสัยทัศน์ กลยุทธ์และการวางแผน ความพึงพอใจของพนักงาน และการพัฒนาสินค้าใหม่ การแบ่งปัจจัยดังกล่าวจะช่วยให้การประเมินการดำเนินงาน 2019-05-07T10:02:17Z 2019-05-07T10:02:17Z 2550 บทความวารสาร 0857-2178 http://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/22/4%E4%BE%E2%C3%A8%B9%EC.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64629 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี
format บทความวารสาร
author ไพโรจน์ ยอดคำปา
วิมลิน สุขถมยา
spellingShingle ไพโรจน์ ยอดคำปา
วิมลิน สุขถมยา
การพัฒนาดัชนีชี้วัดการดำเนินงานของโรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมส่งออก โดยเชื่อมโยงรางวัลคุณภาพกับ ดัชนีดุลยภาพ
author_facet ไพโรจน์ ยอดคำปา
วิมลิน สุขถมยา
author_sort ไพโรจน์ ยอดคำปา
title การพัฒนาดัชนีชี้วัดการดำเนินงานของโรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมส่งออก โดยเชื่อมโยงรางวัลคุณภาพกับ ดัชนีดุลยภาพ
title_short การพัฒนาดัชนีชี้วัดการดำเนินงานของโรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมส่งออก โดยเชื่อมโยงรางวัลคุณภาพกับ ดัชนีดุลยภาพ
title_full การพัฒนาดัชนีชี้วัดการดำเนินงานของโรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมส่งออก โดยเชื่อมโยงรางวัลคุณภาพกับ ดัชนีดุลยภาพ
title_fullStr การพัฒนาดัชนีชี้วัดการดำเนินงานของโรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมส่งออก โดยเชื่อมโยงรางวัลคุณภาพกับ ดัชนีดุลยภาพ
title_full_unstemmed การพัฒนาดัชนีชี้วัดการดำเนินงานของโรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมส่งออก โดยเชื่อมโยงรางวัลคุณภาพกับ ดัชนีดุลยภาพ
title_sort การพัฒนาดัชนีชี้วัดการดำเนินงานของโรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมส่งออก โดยเชื่อมโยงรางวัลคุณภาพกับ ดัชนีดุลยภาพ
publisher มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์
publishDate 2019
url http://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/22/4%E4%BE%E2%C3%A8%B9%EC.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64629
_version_ 1681426118196854784