การพัฒนาเส้นใยต้นกล้วยสําหรับสิ่งทอ

วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ภาณุ ปัญโญใหญ่, เสริมเกียรติ จอมจันทร์ยอง
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 2019
Online Access:http://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/23/3%C0%D2%B3%D8.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64640
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-64640
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-646402019-05-07T10:02:17Z การพัฒนาเส้นใยต้นกล้วยสําหรับสิ่งทอ Development of Banana Fiber for Textile ภาณุ ปัญโญใหญ่ เสริมเกียรติ จอมจันทร์ยอง วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะพัฒนาเส้นใยต้นกล้วย เพื่อนําใช้ในสิ่งทอ โดยจะทําการศึกษา พัฒนา และทดลอง ในเรื่องของชนิดของวัตถุดิบที่นํามาผลิต กรรมวิธีการผลิต และเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต โดยเครื่องจักรในงานวิจัยจะอาศัย แรงตีจากใบพัดโลหะที่ส่งแรงขับมาจากมอเตอร์ไฟฟ้า เพื่อกําจัดสิ่งที่ไม่ต้องการออกไป และทําให้เส้นใยแยกตัวออกจากกัน เส้นใยที่ได้นี้จะมีความกว้างประมาณ 130 µm จากผลการทดลองพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณผลผลิตของเส้นใย คือ ความเร็วรอบของมอเตอร์ โดยค่าความเร็วรอบของมอเตอร์ที่ส่งผลให้ได้ปริมาณของผลผลิตสูงที่สุดมีค่าประมาณ 1,300 rpm ซึ่งมีค่าร้อยละของน้ําหนักเส้นใยอยู่ที่ 0.6926% และจากการทดสอบคุณสมบัติของเส้นใยพบว่า เส้นใยจากลําต้นของ กล้วยน้ำว้ามีค่าความสามารถในการต้านทานแรงดึงสูงที่สุด โดยมีค่าความเค้นเฉลี่ยเท่ากับ 723.28 MPa ค่าความเครียดเฉลี่ย เท่ากับ 3.97 และค่า Young’s Modulus เฉลี่ยเท่ากับ 28.29 GPa เมื่อนําผลการทดสอบคุณสมบัติของเส้นใยไป เปรียบเทียบกับเส้นใยที่มาจากท้องตลาดแล้ว พบว่าค่าของคุณสมบัติทางกายภาพ และความสามารถในการต้านทานแรงดึง ของเส้นใยจากงานวิจัยมีค่าทัดเทียมกันกับเส้นใยจากท้องตลาด นั่นแสดงว่าเส้นใยจากงานวิจัยสามารถที่จะถูกพัฒนาเพื่อ นําไปใช้ได้จริงในวงการอุตสาหกรรมสิ่งทอ 2019-05-07T10:02:17Z 2019-05-07T10:02:17Z 2551 บทความวารสาร 0857-2178 http://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/23/3%C0%D2%B3%D8.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64640 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี
format บทความวารสาร
author ภาณุ ปัญโญใหญ่
เสริมเกียรติ จอมจันทร์ยอง
spellingShingle ภาณุ ปัญโญใหญ่
เสริมเกียรติ จอมจันทร์ยอง
การพัฒนาเส้นใยต้นกล้วยสําหรับสิ่งทอ
author_facet ภาณุ ปัญโญใหญ่
เสริมเกียรติ จอมจันทร์ยอง
author_sort ภาณุ ปัญโญใหญ่
title การพัฒนาเส้นใยต้นกล้วยสําหรับสิ่งทอ
title_short การพัฒนาเส้นใยต้นกล้วยสําหรับสิ่งทอ
title_full การพัฒนาเส้นใยต้นกล้วยสําหรับสิ่งทอ
title_fullStr การพัฒนาเส้นใยต้นกล้วยสําหรับสิ่งทอ
title_full_unstemmed การพัฒนาเส้นใยต้นกล้วยสําหรับสิ่งทอ
title_sort การพัฒนาเส้นใยต้นกล้วยสําหรับสิ่งทอ
publisher มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์
publishDate 2019
url http://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/23/3%C0%D2%B3%D8.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64640
_version_ 1681426120289812480