ชาวนาอีสาน ชาติไทย และการพัฒนาไปสู่ความทันสมัย
วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Format: | บทความวารสาร |
Language: | Tha |
Published: |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์
2019
|
Online Access: | http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/43600%201446189363.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64836 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-64836 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-648362019-05-07T10:02:28Z ชาวนาอีสาน ชาติไทย และการพัฒนาไปสู่ความทันสมัย Isan Peasants, Thai Nation and Modernization รัตนา บุญมัธยะ โตสกุล วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ บทความนี้1 ต้องการทบทวนและนำ เสนอความคิดของศาสตาจารย์ ชาร์ลส์ เอฟ. คายส์ (Professor Charles F. Keyes) ที่ปรากฏในงานเขียนเกี่ยวกับการศึกษา การเปลี่ยนแปลงของสังคมชาวนาในหมู่บ้านชนบทภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ ภาคอีสาน เชื่อมโยงกับสังคมระดับชาติโดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความ มั่นคงเป็นปึกแผ่นของชาติไทยในทางการเมืองการปกครองและการพัฒนาสังคมไทย โดยรวมไปสู่ความทันสมัยในรอบ 4 ทศวรรษที่ผ่านมา เริ่มตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960 งานเขียนของอาจารย์คายส์สะท้อนความสนใจหลักของอาจารย์ใน 3 ประเด็น ใหญ่ๆ คือ ชาติพันธ์ุ ศาสนา และความทันสมัย โดยเน้นศึกษาในแนวทาง มานุษยวิทยาการตีความที่ได้รับอิทธิพลจากสำ นักคิดเวเบอร์เรี่ยนค่อนข้างมาก ผสมผสานกับการวิเคราะห์ชุมชนชาวนาในระดับจุลภาคเชื่อมโยงกับพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์และการเมืองในระดับชาติซึ่งเป็นแนวทางการศึกษาที่ริเริ่มโดยสำ นัก คอร์แนลในช่วงทศวรรษที่ 1950 งานเขียนในระยะต้นๆ ในช่วง 2 ทศวรรษแรกเกี่ยวกับสังคมชาวนาในภาค อีสานและรัฐไทย อาจารย์คายส์ได้เสนอภาพแนวโน้มของปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับ กลุ่มชาติพันธ์ุที่รัฐไทยอาจต้องเผชิญในช่วงของการพัฒนาสังคมไทยไปสู่ความ ทันสมัย อาจารย์คายส์เสนอให้พิจารณาปัญหาความขัดแย้งในภูมิภาคอีสานจาก ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองระหว่างรัฐไทยกับประชาชนใน ภูมิภาคอีสานตลอดช่วงพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ความ ขัดแย้งนี้ยังมีส่วนช่วยสร้างอัตลักษณ์ทางเลือกที่หลากหลายของคนอีสาน บางครั้ง พวกเขาเลือกที่จะแสดงตัวกับชุมชนและภูมิภาคในท้องถิ่น บางครั้งก็แสดงอัตลักษณ์ เชื่อมโยงกับชาวลาวในประเทศลาว และบางครั้งก็แสดงตัวตนผูกพันกับวิถีความ เป็นไทยที่มีฐานมาจากวัฒนธรรมไทยภาคกลาง การแสดงออกในเรื่องความเป็น ภูมิภาคนิยมของชาวอีสานไม่ได้มีวัตถุประสงค์ที่จะแบ่งแยกดินแดนทางการเมือง การปกครองให้เป็นของกลุ่มตนเอง แต่ต้องการให้รัฐไทยเกิดการตระหนักรู้ ความ เข้าใจ และให้การยอมรับสถานภาพความแตกต่างทางวัฒนธรรมของพวกเขาในการ ดำรงอยู่ร่วมกันภายใต้รัฐไทย อาจารย์คายส์ยังให้ข้อคิดในเรื่องพุทธศาสนาว่ามีิทธิพลต่อความคิดและวิถีปฏิบัติของผู้คนในสังคมไทยอย่างยิ่งยวด โดยเฉพาะ ในสังคมชาวนาในภาคอีสานมีลักษณะความเป็นชุมชนศีลธรรม งานเขียนในระยะหลังของอาจารย์คายส์ได้สะท้อนภาพผลการเปลี่ยนแปลง สังคมชาวนาไปสู่ความทันสมัยในรอบ 4 ทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลจากการผนึก ผสานสังคมเศรษฐกิจชาวนาเข้ากับระบบเศรษฐกิจโลก การศึกษาแห่งชาติ การ ปฏิวัติทางเทคโนโลยี และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ชาวนาได้เรียนรู้แนวคิด และมีประสบการณ์เกี่ยวกับความทันสมัยจากชีวิตประจำ วันของพวกเขา นอกจาก นี้ การพัฒนายังก่อให้เกิดปรากฏการณ์ทางสังคมในภาคอีสานที่โดดเด่น 2 เรื่อง คือ ผู้ประท้วง และแรงงานอพยพ อย่างไรก็ตาม อาจารย์คายส์เห็นว่า ความเป็นชุมชน ท้องถิ่นในภูมิภาคอีสานจะยังคงดำ รงอยู่ ไม่ถูกกลืนหายไปในกระแสของการพัฒนา ภูมิภาคและชาติไทยไปสู่ความทันสมัย ผู้เขียนเห็นว่า งานเขียนจำ นวนมหาศาลของอาจารย์คายส์เกี่ยวกับการศึกษา สังคมชาวนาในภาคอีสานเชื่อมโยงกับรัฐไทยเป็นงานบุกเบิกทางวิชาการที่มี คุณูปการอย่างยิ่งยวดในการทำ ความเข้าใจและอธิบายให้เห็นโดยละเอียดถึงการ ดำ รงอยู่และการเปลี่ยนแปลงของชุมชนชาวนาในบริบทของพัฒนาการทางประวัติ- ศาสตร์และการเมืองชาติไทย งานศึกษาของอาจารย์คายส์ได้ช่วยวางรากฐานให้ แก่การศึกษาทางมานุษยวิทยาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมไทยใน ระยะเวลาต่อมา แม้ว่าอาจารย์คายส์จะให้ความสำ คัญอย่างมากในประเด็นเรื่องความเป็นไป ได้ที่จะเกิดขัดแย้งระหว่างชาวนาอีสานกับรัฐไทย ผู้เขียนพบว่างานเขียนเหล่า นี้ยังขาดมิติที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งภายในสังคมอีสาน เช่น ความขัดแย้งเชิง โครงสร้างสังคมภายในชุมชนชาวนาด้วยกันเองและระหว่างชาวนากับกลุ่มทางสังค มอื่นๆ ในท้องถิ่นภูมิภาคอีสานที่สามารถพิจารณาผ่านระบบความสัมพันธ์แบบ ชนชั้น ระบบอุปถัมภ์ พรรคพวก การแย่งชิงอำ นาจการนำ ของคนในท้องถิ่นที่เชื่อม โยงกับเศรษฐกิจและการเมืองในระดับชาติ 2019-05-07T10:02:28Z 2019-05-07T10:02:28Z 2550 บทความวารสาร http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/43600%201446189363.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64836 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
description |
วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ |
format |
บทความวารสาร |
author |
รัตนา บุญมัธยะ โตสกุล |
spellingShingle |
รัตนา บุญมัธยะ โตสกุล ชาวนาอีสาน ชาติไทย และการพัฒนาไปสู่ความทันสมัย |
author_facet |
รัตนา บุญมัธยะ โตสกุล |
author_sort |
รัตนา บุญมัธยะ โตสกุล |
title |
ชาวนาอีสาน ชาติไทย และการพัฒนาไปสู่ความทันสมัย |
title_short |
ชาวนาอีสาน ชาติไทย และการพัฒนาไปสู่ความทันสมัย |
title_full |
ชาวนาอีสาน ชาติไทย และการพัฒนาไปสู่ความทันสมัย |
title_fullStr |
ชาวนาอีสาน ชาติไทย และการพัฒนาไปสู่ความทันสมัย |
title_full_unstemmed |
ชาวนาอีสาน ชาติไทย และการพัฒนาไปสู่ความทันสมัย |
title_sort |
ชาวนาอีสาน ชาติไทย และการพัฒนาไปสู่ความทันสมัย |
publisher |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์ |
publishDate |
2019 |
url |
http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/43600%201446189363.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64836 |
_version_ |
1681426156676448256 |