ระบบการศึกษาและภาษาในกระบวนการสร้างรัฐชาติไทย
วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Format: | บทความวารสาร |
Language: | Tha |
Published: |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์
2019
|
Online Access: | http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/89700%201446190166.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64845 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-64845 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-648452019-05-07T10:02:28Z ระบบการศึกษาและภาษาในกระบวนการสร้างรัฐชาติไทย Educational System and Language in the Thai Nation-State Building ประสิทธิ์ ลีปรีชา วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ ระบบการศึกษาและภาษาในประเทศไทยเป็นประเด็นที่อาจารย์คายส์ให้ ความสนใจทำการศึกษา ด้วยเพราะทั้งระบบการศึกษาและภาษาเป็นส่วนหนึ่งของ เทคโนโลยีทางอำ นาจ (technologies of power) อันสำ คัญที่รัฐไทยใช้ในกระบวนการ สร้างชาติเพื่อนำ พาประเทศไปสู่ความทันสมัย (modernity) กับทั้งเป็นกลไกหลักใน การหลอมรวมผู้คนที่ล้วนแล้วแต่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ที่ อาศัยอยู่ภายใต้เส้นแบ่งพรมแดนความเป็นประเทศและอำนาจรัฐเดียวกันให้กลาย เป็นไทย โดยผู้เขียนจะทำ การตรวจสอบงานเขียนสองชิ้นสำ คัญของอาจารย์คายส์ ในประเด็นดังกล่าว แล้วถอดความหมาย ตลอดจนการสรุปข้อค้นพบและข้อเสนอ แนะของอาจารย์คายส์ กับทั้งแสดงความคิดเห็นส่วนตัวที่มีต่องานเขียนทั้งสอง ชิ้นของอาจารย์คายส์ ทั้งนี้ ผู้เขียนนำ เสนอว่างานเขียนเกี่ยวกับระบบการศึกษา ในกระบวนการสร้างรัฐชาติไทยของอาจารย์คายส์นั้นเป็นงานมานุษยวิทยาว่าด้วย การตีความ (interpretive anthropology) ซึ่งให้ความสำ คัญกับการตีความหมายที่ มีอยู่เบื้องหลังของปรากฏการณ์ในการจัดการศึกษาภาคบังคับ โดยได้รับอิทธิพล จากแนวคิดวัฒนธรรมประดิษฐ์ (invention of tradition) เพื่อนำเอาความรู้ของโลก ใหม่กับสำ นึกในความเป็นชาติเข้าไปให้นักเรียนในชนบท ในขณะที่บทความว่าด้วย ภาษานั้นได้รับอิทธิพลจากแนวคิดมานุษยวิทยาการเมือง (political anthropology) ที่ให้ความสำ คัญกับการเมืองว่าด้วยเรื่องอำ นาจในการทำ ให้ภาษาไทยกลางกลาย เป็นภาษาไทยมาตรฐาน (standard Thai) หรือภาษาราชการ และการขยายการใช้ ภาษาไทยมาตรฐานดังกล่าวเข้าไปสู่ชุมชนทั่วประเทศ กับทั้งอำ นาจและบทบาทใน การฟื้นฟูภาษาอื่นๆ ในสังคมไทย ทั้งนี้ มีระบบการศึกษาภาคบังคับกับสถาบันทาง พุทธศาสนาเป็นสองกลไกหลักที่ก่อให้เกิดความสำ เร็จในการสร้างความเป็นไทยและ การใช้ภาษาไทยมาตรฐานทั่วประเทศ 2019-05-07T10:02:28Z 2019-05-07T10:02:28Z 2550 บทความวารสาร http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/89700%201446190166.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64845 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
description |
วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ |
format |
บทความวารสาร |
author |
ประสิทธิ์ ลีปรีชา |
spellingShingle |
ประสิทธิ์ ลีปรีชา ระบบการศึกษาและภาษาในกระบวนการสร้างรัฐชาติไทย |
author_facet |
ประสิทธิ์ ลีปรีชา |
author_sort |
ประสิทธิ์ ลีปรีชา |
title |
ระบบการศึกษาและภาษาในกระบวนการสร้างรัฐชาติไทย |
title_short |
ระบบการศึกษาและภาษาในกระบวนการสร้างรัฐชาติไทย |
title_full |
ระบบการศึกษาและภาษาในกระบวนการสร้างรัฐชาติไทย |
title_fullStr |
ระบบการศึกษาและภาษาในกระบวนการสร้างรัฐชาติไทย |
title_full_unstemmed |
ระบบการศึกษาและภาษาในกระบวนการสร้างรัฐชาติไทย |
title_sort |
ระบบการศึกษาและภาษาในกระบวนการสร้างรัฐชาติไทย |
publisher |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์ |
publishDate |
2019 |
url |
http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/89700%201446190166.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64845 |
_version_ |
1681426158368849920 |