ผู้หญิงม้งค้าผ้าใยกัญชง: จากหมู่บ้านสู่เศรษฐกิจบนบาทวิถี

วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กรองทอง สุดประเสริฐ
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์ 2019
Online Access:http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/84700%201447040182.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64875
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-64875
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-648752019-05-07T10:02:30Z ผู้หญิงม้งค้าผ้าใยกัญชง: จากหมู่บ้านสู่เศรษฐกิจบนบาทวิถี Hmong Women Hemp Traders: From Village to Market กรองทอง สุดประเสริฐ วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ บทความชิ้นนี้พยายามอธิบายถึง เครือข่ายความสัมพันธ์ทางการ ค้าของผู้หญิงม้งค้าผ้าใยกัญชงที่มีแก่นแกนโยงใยกับพรมแดนทาง วัฒนธรรมของสังคมม้งที่มิได้จำากัด “ความเป็นม้ง” ไว้ที่เส้นพรมแดน รัฐชาติ แม่ค้าม้งอาศัยสายสัมพันธ์ความเป็นม้งสานเครือข่ายการค้า ผ้าใยกัญชงจากม้งประเทศจีน ลาว และไทย เมื่อความต้องการผ้าใย กัญชงของไทยขยายเพิ่มสูงขึ้น ระบบการผลิตของชุมชนบ้านเปี่ยมนำ ้าใจ2 ค่อยๆ เปลี่ยนแปลงจากการเกษตรมาเป็นธุรกิจการค้าขายผ้าใยกัญชง เป็นหลัก การค้าขายผลักให้ผู้หญิงม้งต้องเดินทางข้ามกลับไปกลับมา ในพื้นที่หมู่บ้านซึ่งอยู่ในจังหวัดพะเยาและตลาดค้าผ้าที่ตรอกเหล่าโจ๊ว บริเวณกาดหลวง จ.เชียงใหม่ ซึ่งมีความต่างทั้งแง่ของโครงสร้างอำานาจ และความทันสมัยในเมืองการเดินทางกลับไปกลับมาระหว่างหมู่บ้านกับเมืองก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงต่อชีวิตผู้หญิงม้งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เมื่อผู้หญิงม้งกลาย เป็นแม่ค้าม้ง ผู้หญิงเริ่มคุ้นชินกับพื้นที่สาธารณะมากยิ่งขึ้น บทความนี้ พบว่า การก้าวเข้ามาในพื้นที่สาธารณะของผู้หญิงส่งผลต่อการก่อรูป ความสัมพันธ์ใหม่ ผู้หญิงม้งอาศัยโครงสร้างความสัมพันธ์ของผู้ชาย ในการค้าขายและเปิดพื้นที่ทางสังคมให้แก่ตนเอง ความสัมพันธ์ของ สมาชิกภายในครัวเรือน ผู้หญิงผู้ชายในแต่ละครัวเรือนต่างมีปฏิสัมพันธ์ ที่ไม่หยุดนิ่ง มีเงื่อนไขในแต่ละบริบทแต่ละที่แตกต่างกัน นอกจากนี้ อำานาจการต่อรองยังมีความหมายที่เลื่อนไหล รวมทั้งพื้นที่ บทบาทของ ผู้หญิงเปลี่ยนไปตลอดเวลา 2019-05-07T10:02:30Z 2019-05-07T10:02:30Z 2552 บทความวารสาร http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/84700%201447040182.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64875 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ
format บทความวารสาร
author กรองทอง สุดประเสริฐ
spellingShingle กรองทอง สุดประเสริฐ
ผู้หญิงม้งค้าผ้าใยกัญชง: จากหมู่บ้านสู่เศรษฐกิจบนบาทวิถี
author_facet กรองทอง สุดประเสริฐ
author_sort กรองทอง สุดประเสริฐ
title ผู้หญิงม้งค้าผ้าใยกัญชง: จากหมู่บ้านสู่เศรษฐกิจบนบาทวิถี
title_short ผู้หญิงม้งค้าผ้าใยกัญชง: จากหมู่บ้านสู่เศรษฐกิจบนบาทวิถี
title_full ผู้หญิงม้งค้าผ้าใยกัญชง: จากหมู่บ้านสู่เศรษฐกิจบนบาทวิถี
title_fullStr ผู้หญิงม้งค้าผ้าใยกัญชง: จากหมู่บ้านสู่เศรษฐกิจบนบาทวิถี
title_full_unstemmed ผู้หญิงม้งค้าผ้าใยกัญชง: จากหมู่บ้านสู่เศรษฐกิจบนบาทวิถี
title_sort ผู้หญิงม้งค้าผ้าใยกัญชง: จากหมู่บ้านสู่เศรษฐกิจบนบาทวิถี
publisher มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์
publishDate 2019
url http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/84700%201447040182.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64875
_version_ 1681426163997605888