การกลายความคุ้นเคยในสถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่มีผลต่ออัตลักษณ์พื้นถิ่นใหม่:กรณีศึกษาภูมิภาคเอเชียอาคเนย์

วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: คมสัน ธีรภาพวงศ์
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะวิจิตรศิลป์ 2019
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77707/62326
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64992
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-64992
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-649922019-05-07T10:02:34Z การกลายความคุ้นเคยในสถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่มีผลต่ออัตลักษณ์พื้นถิ่นใหม่:กรณีศึกษาภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ คมสัน ธีรภาพวงศ์ วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) บทความนี้เปิดมุมมองในการค้นหาเหตุทฤษฎี และกลไกของการเปลี่ยนแปลงและเกิดใหม่ของอัตลักษณ์พื้นถิ่นในงานสถาปัตยกรรมร่วมสมัย โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือที่เรียกกันว่า เอเชียอาคเนย์ ซึ่งเป็นภูมิภาคหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม และก่อให้เกิดผลกระทบมากมายหลายด้าน โดยเฉพาะเรื่องของวิกฤติรากเหง้า และลักษณะเฉพาะตัวของความเป็นพื้นถิ่นที่บรรดานักวิชาการหลากสาขา ต่างพยายามค้นคว้าและถามหาถึงการรักษารากวัฒนธรรมของตนอะไรคือรากที่แสดงถึงความเป็นภูมิภาคนั้นๆ อะไรที่ควรคงอยู่และอะไรที่ควรยอมรับในความเปลี่ยนแปลง บทความนี้เป็นก้าวกระโดดจากแนวความคิดเชิงอนุรักษ์ไปสู่การยอมรับถึงความเปลี่ยนแปลงของรากวัฒนธรรมที่เป็นพลวัตและหมุนเคลื่อนไปเสมอ ตรงนี้เองที่ทำให้เกิดการสร้างกรอบความคิดในการมองสถาปัตยกรรมร่วมสมัย ในมุมใหม่ที่เริ่มค้นหาถึงกระบวนการ (Process) ที่ก่อให้เกิดลักษณะเฉพาะถิ่นแบบใหม่ที่ยังคงมีมิติของความเป็นท้องถิ่นและรากของวัฒนธรรมที่แฝงอยู่อย่างมิอาจปฏิเสธได้ว่ามันเริ่มสร้างภาพลักษณ์ในแบบใหม่ ที่อาจนับได้ว่าเป็นสถาปัตยกรรมแห่ง“ท้องถิ่น” ชิ้นใหม่ที่สามารถต่อยอดความร่วมสมัย เข้ากับรากแห่งอดีตปัจจุบันงานสถาปัตยกรรมที่พยายามแสดงธาตุแท้ของอัตลักษณ์ พื้นถิ่นกับการตีความใหม่ๆ ในบ้านเรานั้นกำลังเริ่มต้น อย่างไรก็ดีบทความนี้นำเสนอกรอบความคิดที่กำลังเป็นไปของกระบวนการที่เรียกว่า “การกลายความคุ้นเคย”(Defamiliarisation) ซึ่งเป็นทฤษฎีและฐานความคิดที่ริเริ่มใช้โดยนักเขียน นักทฤษฎีวิพากษ์ชาวรัสเซียที่ชื่อ Viktor Shklovsky ซึ่งถึงแม้ว่าแนวความคิดนี้จะเริ่มต้นขึ้นมาจากฐานคิดบนงานเขียน และงานศิลปะ แต่สามารถนำมาปรับใช้เป็นกรอบความคิดในการมองพัฒนาการของสถาปัตยกรรมร่วมสมัยเสมือนเป็นกระบวนการปรับเอาองค์ประกอบของอัตลักษณ์ ความเป็นพื้นถิ่นที่คุ้นเคยมาใช้ในรูปแบบใหม่ที่ก่อให้เกิดความไม่คุ้นเคย ซึ่งในบทความนี้จะเรียกได้ว่า เป็นกระบวนการ“กลายความคุ้นเคย” ของสิ่งที่เป็นอยู่ ไปสู่สิ่งที่ไม่คุ้นแต่สามารถแสดงมิติเชิงอัตลักษณ์และความรู้สึกที่ยังเป็น“พื้นถิ่น”นั้นๆ อยู่บทความนี้ มองสถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่เกิดขึ้นจากกรณีศึกษางานในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ของเรา และเชื่อมโยงส่งท้ายว่าลักษณะเหล่านี้ได้เกิดขึ้นอย่างมีกระบวนการ และเป็นทฤษฎีที่เปิดมิติต่างออกไปของประเด็นความคิดในเรื่องวิกฤติลักษณะเฉพาะถิ่น ที่เกิดขึ้นในงานสถาปัตยกรรม และศิลปวัฒนธรรมของชาติสืบต่อไป 2019-05-07T10:02:34Z 2019-05-07T10:02:34Z 2550 บทความวารสาร 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77707/62326 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64992 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะวิจิตรศิลป์
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)
format บทความวารสาร
author คมสัน ธีรภาพวงศ์
spellingShingle คมสัน ธีรภาพวงศ์
การกลายความคุ้นเคยในสถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่มีผลต่ออัตลักษณ์พื้นถิ่นใหม่:กรณีศึกษาภูมิภาคเอเชียอาคเนย์
author_facet คมสัน ธีรภาพวงศ์
author_sort คมสัน ธีรภาพวงศ์
title การกลายความคุ้นเคยในสถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่มีผลต่ออัตลักษณ์พื้นถิ่นใหม่:กรณีศึกษาภูมิภาคเอเชียอาคเนย์
title_short การกลายความคุ้นเคยในสถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่มีผลต่ออัตลักษณ์พื้นถิ่นใหม่:กรณีศึกษาภูมิภาคเอเชียอาคเนย์
title_full การกลายความคุ้นเคยในสถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่มีผลต่ออัตลักษณ์พื้นถิ่นใหม่:กรณีศึกษาภูมิภาคเอเชียอาคเนย์
title_fullStr การกลายความคุ้นเคยในสถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่มีผลต่ออัตลักษณ์พื้นถิ่นใหม่:กรณีศึกษาภูมิภาคเอเชียอาคเนย์
title_full_unstemmed การกลายความคุ้นเคยในสถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่มีผลต่ออัตลักษณ์พื้นถิ่นใหม่:กรณีศึกษาภูมิภาคเอเชียอาคเนย์
title_sort การกลายความคุ้นเคยในสถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่มีผลต่ออัตลักษณ์พื้นถิ่นใหม่:กรณีศึกษาภูมิภาคเอเชียอาคเนย์
publisher มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะวิจิตรศิลป์
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77707/62326
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64992
_version_ 1681426185540599808