นิพนธ์ต้นฉบับ : การศึกษาการใส่สายสวนหลอดเลือดดําใหญ่ผ่านทางหลอดเลือดดําส่วนปลาย ที่ผิวหนังในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

Chiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Ma...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศริยา ทองสว่าง, นงลักษณ์ อินตา, สุคนทา คุณาพันธ์
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: Faculty of Medicine, Chiang Mai University 2019
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/88997/70032
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65020
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-65020
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description Chiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).
format บทความวารสาร
author ศริยา ทองสว่าง
นงลักษณ์ อินตา
สุคนทา คุณาพันธ์
spellingShingle ศริยา ทองสว่าง
นงลักษณ์ อินตา
สุคนทา คุณาพันธ์
นิพนธ์ต้นฉบับ : การศึกษาการใส่สายสวนหลอดเลือดดําใหญ่ผ่านทางหลอดเลือดดําส่วนปลาย ที่ผิวหนังในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
author_facet ศริยา ทองสว่าง
นงลักษณ์ อินตา
สุคนทา คุณาพันธ์
author_sort ศริยา ทองสว่าง
title นิพนธ์ต้นฉบับ : การศึกษาการใส่สายสวนหลอดเลือดดําใหญ่ผ่านทางหลอดเลือดดําส่วนปลาย ที่ผิวหนังในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
title_short นิพนธ์ต้นฉบับ : การศึกษาการใส่สายสวนหลอดเลือดดําใหญ่ผ่านทางหลอดเลือดดําส่วนปลาย ที่ผิวหนังในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
title_full นิพนธ์ต้นฉบับ : การศึกษาการใส่สายสวนหลอดเลือดดําใหญ่ผ่านทางหลอดเลือดดําส่วนปลาย ที่ผิวหนังในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
title_fullStr นิพนธ์ต้นฉบับ : การศึกษาการใส่สายสวนหลอดเลือดดําใหญ่ผ่านทางหลอดเลือดดําส่วนปลาย ที่ผิวหนังในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
title_full_unstemmed นิพนธ์ต้นฉบับ : การศึกษาการใส่สายสวนหลอดเลือดดําใหญ่ผ่านทางหลอดเลือดดําส่วนปลาย ที่ผิวหนังในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
title_sort นิพนธ์ต้นฉบับ : การศึกษาการใส่สายสวนหลอดเลือดดําใหญ่ผ่านทางหลอดเลือดดําส่วนปลาย ที่ผิวหนังในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
publisher Faculty of Medicine, Chiang Mai University
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/88997/70032
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65020
_version_ 1681426190759362560
spelling th-cmuir.6653943832-650202019-05-07T10:02:36Z นิพนธ์ต้นฉบับ : การศึกษาการใส่สายสวนหลอดเลือดดําใหญ่ผ่านทางหลอดเลือดดําส่วนปลาย ที่ผิวหนังในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ Objective To determine the clinical characteristics of newborns who had peripherally inserted central catheterizations (PICCs) and complication rates. Methods This was a retrospective descriptive study of newborns who underwent PICCs placement on the neonatal intensive care unit at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital form January 1, 2011 to December 31, 2015. Data from electronic medical records were compiled, including the demographic data, the PICCs insertion records and complications. Data were analyzed using descriptive statistics, incidence rates and binary logistic regression. Results A total of 73 newborns with PICCs placements were analyzed. Sixty- nine (94.5%) newborns were less than 37 weeks gestational age; 46 (63.0%) were inserted PICCs at 1-10 days of age; 49 (67.1%) were very low birth weight infants (<1,500 grams), and 44 (60.3%) were inserted PICCs at body weight less than 1,500 grams. Forty-one newborns (56.2%) had duration of insertion for PICC less than 14 days, while 30 (41.1%) had administrated the total parenteral nutrition more than 30 days. Seventy-two (98.6%) used 1-French catheters. All the catheters were inserted into the antecubital vein. The most indications for PICCs placement were used for total parenteral nutrition (93.2%). The majority of PICCs were removed because no longer required (71.2%). PICCs complications occurred in 8 cases (10.9%). All of the complications were extravasations. The incidence rate of complications was found to be 7.1 per 1000 catheter days. The results revealed that body weight at PICCs insertion was a signifi cant related to the PICCs complications. It indicated that body weight >1,500 gms is 11 times higher for PICCs complications than body weight < 1,500 gms (OR= 10.7, p=.01, 95% CI= 1.64-70.0). Conclusion The results of this study provide baseline information in consideration of the provision PICCs placement, used to develop guidelines and management of PICCs in neonatal intensive care unit, especially in newborns weighing >1,500 gms at risk of extravasation. ศริยา ทองสว่าง นงลักษณ์ อินตา สุคนทา คุณาพันธ์ Chiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec). วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะทางคลินิกของทารกแรกเกิดที่ได้รับการใส่สายสวนหลอดเลือดดําใหญ่ผ่านทาง หลอดเลือดดําส่วนปลายที่ผิวหนัง (peripherally inserted central catheterizations: PICCs) และอุบัติการณ์ ของการเกิดภาวะแทรกซ้อน วิธีการศึกษา เป็นการศึกษาย้อนหลังเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างเป็นทารกในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด โรง พยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ที่ได้รับการใส่สาย PICCs ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 รวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียนอิเลคทรอนิกส์ โดยการบันทึกข้อมูลพื้นฐานทารก ข้อมูลเกี่ยวกับการใส่สาย PICCs และการเกิดภาวะแทรกซ้อน วิเคราะห์ผลการศึกษาในรูปแบบสถิติเชิงพรรณนา รายงานอุบัติการณ์การเกิดภาวะ แทรกซ้อน และวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงโดยการใช้ สถิติ binary logistic regression ผลการศึกษา ทารกที่ใส่สาย PICC มีจํานวนทั้งหมด 73 ราย อายุครรภ์เมื่อแรกเกิดน้อยกว่า 37 สัปดาห์ 69 ราย (ร้อยละ 94.5) อายุขณะเริ่มใส่สาย PICC อยู่ระหว่าง 1-10 วัน 46 ราย (ร้อยละ 63.0) มีน้ําหนักแรกเกิดน้อยกว่า 1,500 กรัม 49 ราย (ร้อยละ 67.1) ขณะใส่สาย PICCs ทารกมีน้ําหนักตัวน้อยกว่า1,500 กรัม 44 ราย (ร้อย ละ60.3) ระยะเวลาใส่สาย PICCs น้อยกว่า 14 วัน 41 ราย (ร้อยละ 56.2) และมีระยะเวลาการได้รับสารน้ําและ สารอาหารทางหลอดเลือดมากกว่า 30 วัน 30 ราย (ร้อยละ 41.1) โดยใช้สายขนาด 1-French 72 ราย (ร้อยละ 98.6) และตําแหน่งที่ใส่สายในทารกทุกราย คือ หลอดเลือดดําบริเวณข้อพับแขน ส่วนเหตุผลหลักในการใส่สาย PICCs เพื่อให้สารอาหารทางหลอดเลือด (ร้อยละ 93.2) และสาเหตุที่ต้องถอดสาย PICCs ออกมากที่สุดคือ ไม่มี ความจําเป็นต้องใช้อีก (ร้อยละ 71.2) ในการศึกษานี้พบการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใส่สาย PICCs 8 ราย (ร้อย ละ 10.9) ซึ่งเป็นการรั่วของสารน้ําออกนอกหลอดเลือดทั้งหมด และคิดเป็นอัตราอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อน 7.1 ครั้งต่อ 1,000 วันคาสาย PICCs โดยพบว่าตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากใส่สาย PICCs อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติในการศึกษานี้คือ น้ําหนักตัวขณะใส่สาย โดยทารกที่น้ําหนักตัวมากกว่า 1,500 กรัม จะมีโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนมากกว่าทารกที่มีน้ําหนักน้อยกว่า 1,500 กรัม 11 เท่า (OR= 10.7, p=.01, 95% CI= 1.6-70.0) สรุปผลการศึกษา ผลการศึกษาสามารถนําไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพิจารณาการใส่สายสวนหลอดเลือดดําใหญ่ ผ่านทางหลอดเลือดดําส่วนปลายที่ผิวหนัง การจัดทําแนวปฏิบัติ และการดูแลสายสวนโดยเฉพาะในการดูแลทารก ที่มีน้ําหนักมากกว่า 1,500 กรัมที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการรั่วของสารน้ําออกนอกหลอดเลือด 2019-05-07T10:02:36Z 2019-05-07T10:02:36Z 2016 บทความวารสาร 0125-5983 https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/88997/70032 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65020 Tha Faculty of Medicine, Chiang Mai University