ข่า: ทาสในมณฑลลาวตะวันออก และมณฑลลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่าง ค.ศ. 1779 - 1904

วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ ส...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุธิดา ตันเลิศ
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77666/62289
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65046
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-65046
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-650462019-05-07T10:02:38Z ข่า: ทาสในมณฑลลาวตะวันออก และมณฑลลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่าง ค.ศ. 1779 - 1904 The Slavery in Southern Laos, between 1779 and 1904. สุธิดา ตันเลิศ วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) บทความนี้ได้ศึกษาพัฒนาการของ “ข่า” ซึ่งเป็นทาสในมณฑลลาว ตะวันออก และมณฑลลาวตะวันออกเฉียงเหนือระหว่าง ค.ศ. 1779 – 1904 เน้นการนำเสนอและวิเคราะห์นิยาม “ข่า” ประเภทของทาส วิถีชีวิต ระบบเศรษฐกิจทาส และการปรับตัวให้เข้ากับระบบเศรษฐกิจ-สังคมแบบใหม่ (ค.ศ. 1893 – 1904) อันเป็นระยะหัวเลี้ยวหัวต่อของคนลุ่มแม่น้ำโขง วิธีการศึกษาได้ใช้ขบวนการวิจัยทางประวัติศาสตร์เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ เริ่มจากการเก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารชั้นต้น ชั้นรอง และชั้นที่สาม การอ่านข้อมูล การคิดวิเคราะห์นำไปสู่การสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อเขียนในรูปพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า มีทาสทั้งหมด 5 ประเภท ได้แก่ ทาสเชลย ทาสวัด ทาสในเรือนเบี้ยหรือทาสมรดก ทาสสินไถ่ และทาสที่ถูกลักพาตัวหรือทาสที่ถูกไล่ล่า อันเป็นจุดกำเนิดของทาสในมณฑลลาวตะวันออก และมณฑลลาวตะวันออกเฉียงเหนือได้พัฒนามาจากการล่าชนเผ่า (ข่า) เพื่อใช้เป็นแรงงานในรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ราชวงศ์จักรี) 2019-05-07T10:02:38Z 2019-05-07T10:02:38Z 2555 บทความวารสาร 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77666/62289 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65046 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)
format บทความวารสาร
author สุธิดา ตันเลิศ
spellingShingle สุธิดา ตันเลิศ
ข่า: ทาสในมณฑลลาวตะวันออก และมณฑลลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่าง ค.ศ. 1779 - 1904
author_facet สุธิดา ตันเลิศ
author_sort สุธิดา ตันเลิศ
title ข่า: ทาสในมณฑลลาวตะวันออก และมณฑลลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่าง ค.ศ. 1779 - 1904
title_short ข่า: ทาสในมณฑลลาวตะวันออก และมณฑลลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่าง ค.ศ. 1779 - 1904
title_full ข่า: ทาสในมณฑลลาวตะวันออก และมณฑลลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่าง ค.ศ. 1779 - 1904
title_fullStr ข่า: ทาสในมณฑลลาวตะวันออก และมณฑลลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่าง ค.ศ. 1779 - 1904
title_full_unstemmed ข่า: ทาสในมณฑลลาวตะวันออก และมณฑลลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่าง ค.ศ. 1779 - 1904
title_sort ข่า: ทาสในมณฑลลาวตะวันออก และมณฑลลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่าง ค.ศ. 1779 - 1904
publisher คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77666/62289
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65046
_version_ 1681426195686621184