การศึกษารูปแบบและกำหนดอายุเวลา เจดีย์ประธาน กู่พระเจ้า และกู่กลางน้ำ วัดเกาะกลาง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน
วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ ส...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Format: | บทความวารสาร |
Language: | Tha |
Published: |
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77631/62260 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65052 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-65052 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-650522019-05-07T10:02:38Z การศึกษารูปแบบและกำหนดอายุเวลา เจดีย์ประธาน กู่พระเจ้า และกู่กลางน้ำ วัดเกาะกลาง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน The Study on the Form and Chronology of the Main Stupa, Ku Pra Chao and Ku Klang Num, of Wat Koh Klang, Pa Sang District, Lamphun Province. เกษรา ศรีนาคา วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) บทความนี้ได้นำเสนอประเด็นเพิ่มเติมในการศึกษารูปแบบและการกำหนดหาอายุเวลาเจดีย์ประธาน กู่พระเจ้า และกู่กลางน้ำ วัดเกาะกลาง อำเภอป่าซางจังหวัดลำพูน จากเดิมที่นักวิชาการได้วิเคราะห์และกำหนดอายุของเจดีย์ประธานวัดเกาะกลางว่ามีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 19 สอดคล้องกับรูปแบบและสถาปัตยกรรมของเจดีย์ในล้านนาว่าได้รับอิทธิพลจากศิลปะพุกามของพม่า แต่จากการศึกษาพบว่าเจดีย์ประธานของวัดเกาะกลาง น่าจะมีอายุเวลาอยู่ในช่วงประมาณต้นพุทธศตวรรษที่ 21 มีการก่อสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์ด้วยกัน 2 สมัย กล่าวคือ สมัยแรก ช่วงรัชสมัยพระเจ้าติโลกราช (พุทธศักราช 1984 – 2030) แห่งล้านนา การก่อสร้างสมัยแรกได้รับอิทธิพลจากรูปแบบของเจดีย์เชียงยันในวัดพระธาตุหริภุญชัย จังหวัดลำพูน เจดีย์ห้ายอดที่ได้รับรูปแบบทางสถาปัตยกรรมจากเจดีย์ห้ายอดภายในบริเวณมหาโพธิมหาวิหารที่พุทธคยาในอินเดีย ต่อมาในสมัยที่ 2 ราวรัชสมัยพญายอดเชียงราย(พุทธศักราช 2030 – 2038) ได้มีการเปลี่ยนแปลงองค์ระฆังให้เป็นเจดีย์ทรงลังกาซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของคณะสงฆ์ลังกาวงศ์ การกำหนดอายุเวลาของกู่พระเจ้าน่าจะสร้างขึ้นในราวรัชสมัยพระเมืองแก้ว(พุทธศักราช 2038 – 2069) หรือประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ 21 ดังพิจารณาได้จากการก่อซุ้มโค้งที่ทะลุกันทั้ง 4 ด้านเป็นลักษณะเดียวกับกู่พระเจ้าแก่นจันทน์วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) จังหวัดเชียงใหม่ สร้างขึ้นเมื่อประมาณพุทธศักราช 2053 ตามอายุเวลาที่ระบุไว้ในชินกาลมาลีปกรณ์ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระเมืองแก้ว เจดีย์กลางน้ำสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในช่วงประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ 21 โดยพิจารณาจากลักษณะการผสมผสานกันของรูปแบบทางสถาปัตยกรรมระหว่างเจดีย์ห้ายอด ในลักษณะเดียวกับเจดีย์ประธานของวัดเกาะกลางสมัยแรกและเจดีย์เชียงยันในวัดพระธาตุหริภุญชัย กับรูปแบบก่อเรือนธาตุเป็นซุ้มโค้งมีลักษณะโปร่งทะลุทั้ง 4 ด้านใกล้เคียงกันกับกู่พระเจ้าของวัดเกาะกลางและกู่พระเจ้าแก่นจันทน์ในวัดมหาโพธาราม การสร้างกู่ที่มีน้ำล้อมรอบยังสะท้อนให้เห็นถึงคติจักรวาลในล้านนาผ่านสถาปัตยกรรม กล่าวคือ กู่เป็นสัญลักษณ์ของเขาพระสุเมรุที่ล้อมรอบด้วยมหานทีสีทันดร 2019-05-07T10:02:38Z 2019-05-07T10:02:38Z 2556 บทความวารสาร 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77631/62260 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65052 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
description |
วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) |
format |
บทความวารสาร |
author |
เกษรา ศรีนาคา |
spellingShingle |
เกษรา ศรีนาคา การศึกษารูปแบบและกำหนดอายุเวลา เจดีย์ประธาน กู่พระเจ้า และกู่กลางน้ำ วัดเกาะกลาง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน |
author_facet |
เกษรา ศรีนาคา |
author_sort |
เกษรา ศรีนาคา |
title |
การศึกษารูปแบบและกำหนดอายุเวลา เจดีย์ประธาน กู่พระเจ้า และกู่กลางน้ำ วัดเกาะกลาง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน |
title_short |
การศึกษารูปแบบและกำหนดอายุเวลา เจดีย์ประธาน กู่พระเจ้า และกู่กลางน้ำ วัดเกาะกลาง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน |
title_full |
การศึกษารูปแบบและกำหนดอายุเวลา เจดีย์ประธาน กู่พระเจ้า และกู่กลางน้ำ วัดเกาะกลาง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน |
title_fullStr |
การศึกษารูปแบบและกำหนดอายุเวลา เจดีย์ประธาน กู่พระเจ้า และกู่กลางน้ำ วัดเกาะกลาง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน |
title_full_unstemmed |
การศึกษารูปแบบและกำหนดอายุเวลา เจดีย์ประธาน กู่พระเจ้า และกู่กลางน้ำ วัดเกาะกลาง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน |
title_sort |
การศึกษารูปแบบและกำหนดอายุเวลา เจดีย์ประธาน กู่พระเจ้า และกู่กลางน้ำ วัดเกาะกลาง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน |
publisher |
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77631/62260 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65052 |
_version_ |
1681426196800208896 |