ศิลปะ-สถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 1: แนวคิด คติสัญลักษณ์ และความหมาย ทางสังคมยุคต้นรัตนโกสินทร์
วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ ส...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Format: | บทความวารสาร |
Language: | Tha |
Published: |
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77656/62279 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65057 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-65057 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-650572019-05-07T10:02:38Z ศิลปะ-สถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 1: แนวคิด คติสัญลักษณ์ และความหมาย ทางสังคมยุคต้นรัตนโกสินทร์ Art and Architecture in the Reign of King Rama I: Concept, Symbolism, and Socail Meaning of Early Rattanakosin Period. ชาตรี ประกิตนนทการ วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) งานวิจัยชิ้นนี้มีเป้าหมายเพื่อศึกษางานศิลปะและสถาปัตยกรรมในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก กษัตริย์รัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์จักรี (ครองราชย์ พ.ศ.2325 – 2352) เป้าหมายของงานวิจัยมุ่งเน้นศึกษาถึงลักษณะเฉพาะ อุดมการณ์ สัญลักษณ์ ตลอดจนความหมายของงานศิลปะและสถาปัตยกรรมในยุคนี้ที่มีต่อสังคมยุคต้นรัตนโกสินทร์ โดยอาศัยชุดเอกสารชั้นต้นต่างๆ เช่น คัมภีร์ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา สมุดภาพไตรภูมิพงศาวดาร ตลอดจนการลงพื้นที่สำรวจงานศิลปะและสถาปัตยกรรมในยุคสมัยดังกล่าว เช่น วัดพระเชตุพน วัดสระเกศ วัดพระแก้ว และวัดราชบุรณะ เป็นต้น ผลการวิจัยพบว่าในยุคสมัยนี้ได้มีการยก “คติพระอินทร์”ขึ้นเป็นอุดมการณ์ใหม่ของรัฐ มีการใช้สัญลักษณ์ “ศีรษะแผ่นดิน” ในฐานะศูนย์กลางของโลกแทนที่ “เขาพระสุเมรุ” คตินิยมดังกล่าวได้ถูกนำเสนอผ่านรูปแบบงานศิลปะและสถาปัตยกรรมรูปแบบใหม่ 3 ประการซึ่งแตกต่างออกไปจากรูปแบบงานศิลปะและสถาปัตยกรรมในสมัยอยุธยาตอนปลาย ประการแรก คือ คตินิยมในการสร้างระเบียงคดล้อมรอบพระอุโบสถซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อนในสมัยอยุธยา ประการที่สอง คือ ความนิยมใน “คติพระอินทร์” ที่นำมาซึ่งการสร้างงานศิลปะและสถาปัตยกรรมที่ปรากฏรูปสัญลักษณ์ของพระอินทร์เป็นจำนวนมาก และประการที่สามคือ พระราชนิยมใน “พระพุทธรูปปางสมาธิ” ของรัชกาลที่ 1 แตกต่างจากคตินิยมเดิมในสมัยอยุธยาที่นิยม “พระพุทธรูปปางมารวิชัย” ผลของงานวิจัยนำมาสู่ข้อสรุปใหม่ที่โต้แย้งกับข้อเสนอเดิมในวงวิชาการทางประวัติศาสตร์ศิลปะและสถาปัตยกรรมที่เชื่อว่างานศิลปะและสถาปัตยกรรมในสมัยรัชกาลที่ 1 คือ งานศิลปะและสถาปัตยกรรมที่เน้นการจำลองหรือลอกเลียนแบบงานช่างจากสมัยอยุธยาตอนปลาย 2019-05-07T10:02:38Z 2019-05-07T10:02:38Z 2556 บทความวารสาร 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77656/62279 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65057 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
description |
วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) |
format |
บทความวารสาร |
author |
ชาตรี ประกิตนนทการ |
spellingShingle |
ชาตรี ประกิตนนทการ ศิลปะ-สถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 1: แนวคิด คติสัญลักษณ์ และความหมาย ทางสังคมยุคต้นรัตนโกสินทร์ |
author_facet |
ชาตรี ประกิตนนทการ |
author_sort |
ชาตรี ประกิตนนทการ |
title |
ศิลปะ-สถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 1: แนวคิด คติสัญลักษณ์ และความหมาย ทางสังคมยุคต้นรัตนโกสินทร์ |
title_short |
ศิลปะ-สถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 1: แนวคิด คติสัญลักษณ์ และความหมาย ทางสังคมยุคต้นรัตนโกสินทร์ |
title_full |
ศิลปะ-สถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 1: แนวคิด คติสัญลักษณ์ และความหมาย ทางสังคมยุคต้นรัตนโกสินทร์ |
title_fullStr |
ศิลปะ-สถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 1: แนวคิด คติสัญลักษณ์ และความหมาย ทางสังคมยุคต้นรัตนโกสินทร์ |
title_full_unstemmed |
ศิลปะ-สถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 1: แนวคิด คติสัญลักษณ์ และความหมาย ทางสังคมยุคต้นรัตนโกสินทร์ |
title_sort |
ศิลปะ-สถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 1: แนวคิด คติสัญลักษณ์ และความหมาย ทางสังคมยุคต้นรัตนโกสินทร์ |
publisher |
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77656/62279 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65057 |
_version_ |
1681426197752315904 |