อิทธิพลของปัญญาสชาดกที่มีต่อพุทธศิลปกรรม ในเขตพุทธสถาน : กรณีศึกษาวัดในอำเภอเมืองเชียงใหม่

วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ ส...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สัญญา ศิริพานิช
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77227/61980
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65098
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-65098
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-650982019-05-07T10:02:40Z อิทธิพลของปัญญาสชาดกที่มีต่อพุทธศิลปกรรม ในเขตพุทธสถาน : กรณีศึกษาวัดในอำเภอเมืองเชียงใหม่ An Influence of Paññāsajātaka on Buddhist Fine Arts in Buddhist Places : A Case Study of Muang District Chiang Mai Province สัญญา ศิริพานิช วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) วิทยานิพนธ์ เรื่อง “อิทธิพลของปัญญาสชาดกที่มีต่อพุทธศิลปกรรมใน เขตพุทธสถาน: กรณีศึกษาวัดในอำเภอเมืองเชียงใหม่” ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ทางการศึกษา 3 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษากำเนิดและพัฒนาการของปัญญาสชาดก 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัญญาสชาดกที่มีต่อพุทธศิลปกรรมในเขตพุทธสถาน อำเภอเมืองเชียงใหม่ 3) เพื่อศึกษาบทบาทของศิลปินในการสืบทอดผลงานพุทธศิลปกรรมที่ได้รับ อิทธิพลจากปัญญาสชาดก “ปัญญาสชาดก” เป็นผลงานวรรณกรรมเก่าแก่ทางพระพุทธศาสนา โดยผ่านการรจนาของภิกษุสงฆ์เมืองเชียงใหม่ (ล้านนา) เมื่อประมาณ พ.ศ. 2000 – 2200 ต่อมาเป็นจุดกำเนิดผลงานศิลปะชั้นครูมากมาย เมื่อเปิดเผยความจริงให้เราสัมผัส ไม่ว่าความจริงเฉพาะหรือความจริงอันสากล มักก่อให้เกิดแรงบันดาลใจที่จะทำสิ่งดีงาม เรื่องราวบางเรื่องภายในคัมภีร์นี้ถ่ายทอดโศกนาฏกรรมของพระโพธิสัตว์ได้อย่างสะเทือนใจและซาบซึ้งตรึงใจให้กับผู้รู้ ผู้ฟัง ผู้อ่านเข้าถึงผัสสะภายใน นอกจากความงามและอรรถรสของเนื้อเรื่องแล้ว ผลงานวรรณกรรมจากปัญญาสชาดกยังมีลักษณะโดดเด่นเฉพาะตัวในรูปแบบชาดกนอกนิบาต กล่าวคือสามารถเป็นสื่อกระตุ้นให้ชาวสยามประเทศในยุคสมัยนั้นและยุคต่อๆมา ก่อประโยชน์สร้างผลงานของแต่ละท้องถิ่นขยายตัวจากเนื้อเรื่องภายในคัมภีร์ปัญญาสชาดกออกไปในวงกว้าง โดยไม่ได้มุ่งเน้นเรื่องขอบเขตดินแดนราชอาณาจักร หากคงคุณค่าของขอบเขตความดีงามทางพระพุทธศาสนา มุ่งเป็นสื่อให้แก่ชาวสากลโลกได้รับรู้ อิทธิพลของคัมภีร์ปัญญาสชาดกที่มีต่อพุทธศิลปกรรมในเขตพุทธสถานอำเภอเมืองเชียงใหม่ พบว่าคำสอนในคัมภีร์ปัญญาสชาดกถูกแปลงออกมาเป็นพุทธศิลปกรรมในรูปแบบต่างๆ เช่น งานจิตรกรรมฝาผนังภายในวิหารลายคำ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร งานจิตรกรรมฝาผนังบนหอไตร วัดช่างฆ้องและงานประติมากรรมฝาผนัง (ปูนปั้น) ภายนอกอุโบสถหลังเก่า วัดอู่ทรายคำเป็นต้น ในอดีต พุทธศิลปกรรมชั้นเลิศจากปัญญาสชาดกที่มีอยู่ภายในเขตพุทธสถาน อำเภอเมืองเชียงใหม่นั้น มุ่งถ่ายทอดอุดมคติแอบแฝงวิถีชีวิตของคนเมืองนั้นๆ ลงไปในใจของผู้คนท้องถิ่นและนักท่องเที่ยวต่างเมืองได้ยึดถือเป็นจุดหมายสูงส่งของชีวิต ผู้ใดที่พินิจผลงานเหล่านี้ด้วยใจที่ใคร่ครวญ ย่อมตระหนักชัดว่า สิ่งที่พึงยึดถือเป็นอุดมคติของชีวิตนี้ก็คือการบ่มเพาะปัญญาและกรุณาให้เจริญมั่นคงในใจ อย่างไรก็ตาม พุทธศิลปกรรมมิได้น้อมนำจิตใจให้เข้าถึงความดีและความจริงโดยผ่านการเสพเท่านั้น การสร้างสรรค์ศิลปะก็เป็นอีกหนทางหนึ่งที่นำพาผู้คนบรรลุถึงความดีและความจริงได้ ดังนั้นช่างที่สรรค์สร้างพุทธศิลป์ในอดีตจึงอุทิศตนให้กับงานของตนอย่างเต็มที่ โดยไม่คิดจะจารึกชื่อไว้ในนฤมิตกรรมเหล่านั้นเพื่อให้โลกหรือคนรุ่นหลังรู้จักเลย บทบาทของศิลปินท้องถิ่นแห่งสยามประเทศในอนาคตต้องตระหนักถึงคุณพระพุทธศาสนาเป็นหลัก ถือเป็นตัวแทนของบุคคลที่พัฒนาตนจนถึงอุตมภาวะอย่างเต็มศักยภาพแห่งความเป็นมนุษย์เพราะนอกจากการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวมแล้ว การสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรมยังเป็นวิถีแห่งการฝึกฝนพัฒนาตนด้วย ช่างสมัยก่อนไม่เพียงถือศีล บำเพ็ญพรต และเจริญสมาธิก่อนสร้างสรรค์ผลงานที่เป็นพุทธศิลป์เท่านั้น หากยังอาศัยงานศิลปะนั้นเป็นเครื่องฝึกจิตไปด้วย เช่น น้อมใจให้มีสมาธิหรือฝึกจิตให้เป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ ในพุทธศาสนาแบบเซน นักปฏิบัติบางคนวาดต้นไผ่นานนับสิบปีเพื่อเป็นหนึ่งเดียวกับต้นไผ่ และในที่สุดก็ไม่มีแม้กระทั่งความสำนึกว่าตนเป็นหนึ่งเดียวกับต้นไผ่ ถึงตรงนี้ผลงานพุทธศิลปกรรมจากปัญญาสชาดกจะเป็นอย่างไรไม่สำคัญ เท่ากับสภาวะหรือภูมิจิตของผู้วาด มองในแง่นี้การทำงานพุทธศิลปกรรมจึงมิใช่อะไรอื่น หากคือการปฏิบัติธรรมนั่นเอง 2019-05-07T10:02:40Z 2019-05-07T10:02:40Z 2557 บทความวารสาร 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77227/61980 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65098 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)
format บทความวารสาร
author สัญญา ศิริพานิช
spellingShingle สัญญา ศิริพานิช
อิทธิพลของปัญญาสชาดกที่มีต่อพุทธศิลปกรรม ในเขตพุทธสถาน : กรณีศึกษาวัดในอำเภอเมืองเชียงใหม่
author_facet สัญญา ศิริพานิช
author_sort สัญญา ศิริพานิช
title อิทธิพลของปัญญาสชาดกที่มีต่อพุทธศิลปกรรม ในเขตพุทธสถาน : กรณีศึกษาวัดในอำเภอเมืองเชียงใหม่
title_short อิทธิพลของปัญญาสชาดกที่มีต่อพุทธศิลปกรรม ในเขตพุทธสถาน : กรณีศึกษาวัดในอำเภอเมืองเชียงใหม่
title_full อิทธิพลของปัญญาสชาดกที่มีต่อพุทธศิลปกรรม ในเขตพุทธสถาน : กรณีศึกษาวัดในอำเภอเมืองเชียงใหม่
title_fullStr อิทธิพลของปัญญาสชาดกที่มีต่อพุทธศิลปกรรม ในเขตพุทธสถาน : กรณีศึกษาวัดในอำเภอเมืองเชียงใหม่
title_full_unstemmed อิทธิพลของปัญญาสชาดกที่มีต่อพุทธศิลปกรรม ในเขตพุทธสถาน : กรณีศึกษาวัดในอำเภอเมืองเชียงใหม่
title_sort อิทธิพลของปัญญาสชาดกที่มีต่อพุทธศิลปกรรม ในเขตพุทธสถาน : กรณีศึกษาวัดในอำเภอเมืองเชียงใหม่
publisher คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77227/61980
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65098
_version_ 1681426205400629248