ปูนปั้นวัดเกาะกลาง อําเภอป่าซาง จังหวัดลําพูน : การศึกษาเบื้องต้นด้านเทคนิค วัสดุ และความสัมพันธ์ที่มีต่อรูปแบบศิลปกรรม

วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ ส...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุรชัย จงจิตงาม, ศิริวรรณ เกตตะพันธุ์
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77257/62006
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65099
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-65099
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-650992019-05-07T10:02:40Z ปูนปั้นวัดเกาะกลาง อําเภอป่าซาง จังหวัดลําพูน : การศึกษาเบื้องต้นด้านเทคนิค วัสดุ และความสัมพันธ์ที่มีต่อรูปแบบศิลปกรรม Stucco of Koh Klang Temple, Pasang District Lamphun : Primary study of techniques, materials and their relations to the style of art สุรชัย จงจิตงาม ศิริวรรณ เกตตะพันธุ์ วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเทคนิค และวัสดุในงานศิลปกรรมปูนปั้น ล้านนาที่วัดเกาะกลาง ตำบลบ้านเรือน อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูนในเบื้องต้น ซึ่งเป็นงานปูนปั้นที่ได้จากการขุดค้นทางโบราณคดีระหว่าง พ.ศ. 2548 - 2549 โดยการวิจัยพรรณนาเชิงวิเคราะห์ (Analytical Description) เทคนิคในงานปูนปั้นสามารถจำแนกออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกเป็นงาน ประติมากรรมตัวภาพ อันได้แก่ เทวดา กินรี และภาพสัตว์ ซึ่งล้วนเป็นงานปูนปั้น นูนสูงที่มีการใช้อิฐเป็นแกนยึดติดกับผนังสถาปัตยกรรมทั้งสิ้น แล้วจึงปั้นปูนพอก เป็นรูปร่าง และเก็บรายละเอียด อันเป็นเทคนิคพื้นฐานที่พบสืบเนื่องมาโดย ตลอดนับตั้งแต่ปูนปั้นในศิลปะหริภุญไชย กลุ่มที่สองได้แก่ ปูนปั้นในกลุ่มลายพรรณพฤกษา ลายเมฆ และลายกนกที่มีการ ใช้โกลนลายหนุนตัวลาย ซ่ึงทำให้ตัวลายมีความนูนเด่นจากผิวพ้ืน อันเป็นเทคนิค ที่พบมากในศิลปะล้านนาในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 20 - 21 การวิเคราะห์ปูนโดยวิธีการทางเคมีด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์แบบผง (Powder X-ray Diffractometer) และกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอนแบบส่อง กราด (Scanning Electron Microscope: SEM) พบว่าองค์ประกอบหลัก คือ แคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium Carbonate) ซิลิกอนออกไซด์ (Silicon Oxide) ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่พบในปูน และทราย อันเป็นวัสดุหลักของปูนปั้น แต่ ทุกตัวอย่างที่ทำการวิเคราะห์พบปริมาณของทรายมากกว่าปูนทั้งสิ้น นอกจากนั้น ยังพบร่องรอยการตกแต่งปูนปั้นด้วยชาดสีแดง เทคนิคทางศิลปกรรมเช่นนั้น ทำให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของงานปูนปั้นที่พบ ใหม่ ณ วัดเกาะกลางว่า มีเทคนิคที่สอดคล้องกับเทคนิคปูนปั้นที่พบมากในศิลปะ ล้านนาในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 20 - 21 สอดคล้องกับรูปทรงเทวดา กินรี และกลุ่มลายพรรณพฤกษามีรูปแบบศิลปกรรมที่สัมพันธ์อย่างชัดเจนกับ งานปูนปั้นล้านนาในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 20 - 21 ฉะนั้น ปูนปั้นที่ขุดพบ ณ วัดเกาะกลางจึงควรมีอายุอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าวเช่นกัน ทั้งนี้ ยกเว้นปูนปั้นทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของวัดที่เรียกว่า “เนินแม่ม่าย” ซึ่งมีข้อสังเกตว่า น่าจะสร้างขึ้นในช่วงเวลาที่ต่างกัน อันเป็นประเด็นที่ควรจะ ศึกษาต่อไปในอนาคต 2019-05-07T10:02:40Z 2019-05-07T10:02:40Z 2558 บทความวารสาร 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77257/62006 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65099 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)
format บทความวารสาร
author สุรชัย จงจิตงาม
ศิริวรรณ เกตตะพันธุ์
spellingShingle สุรชัย จงจิตงาม
ศิริวรรณ เกตตะพันธุ์
ปูนปั้นวัดเกาะกลาง อําเภอป่าซาง จังหวัดลําพูน : การศึกษาเบื้องต้นด้านเทคนิค วัสดุ และความสัมพันธ์ที่มีต่อรูปแบบศิลปกรรม
author_facet สุรชัย จงจิตงาม
ศิริวรรณ เกตตะพันธุ์
author_sort สุรชัย จงจิตงาม
title ปูนปั้นวัดเกาะกลาง อําเภอป่าซาง จังหวัดลําพูน : การศึกษาเบื้องต้นด้านเทคนิค วัสดุ และความสัมพันธ์ที่มีต่อรูปแบบศิลปกรรม
title_short ปูนปั้นวัดเกาะกลาง อําเภอป่าซาง จังหวัดลําพูน : การศึกษาเบื้องต้นด้านเทคนิค วัสดุ และความสัมพันธ์ที่มีต่อรูปแบบศิลปกรรม
title_full ปูนปั้นวัดเกาะกลาง อําเภอป่าซาง จังหวัดลําพูน : การศึกษาเบื้องต้นด้านเทคนิค วัสดุ และความสัมพันธ์ที่มีต่อรูปแบบศิลปกรรม
title_fullStr ปูนปั้นวัดเกาะกลาง อําเภอป่าซาง จังหวัดลําพูน : การศึกษาเบื้องต้นด้านเทคนิค วัสดุ และความสัมพันธ์ที่มีต่อรูปแบบศิลปกรรม
title_full_unstemmed ปูนปั้นวัดเกาะกลาง อําเภอป่าซาง จังหวัดลําพูน : การศึกษาเบื้องต้นด้านเทคนิค วัสดุ และความสัมพันธ์ที่มีต่อรูปแบบศิลปกรรม
title_sort ปูนปั้นวัดเกาะกลาง อําเภอป่าซาง จังหวัดลําพูน : การศึกษาเบื้องต้นด้านเทคนิค วัสดุ และความสัมพันธ์ที่มีต่อรูปแบบศิลปกรรม
publisher คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77257/62006
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65099
_version_ 1681426205587275776