ศิลปะร่วมสมัยไทยภายใต้แนวคิด หลังอาณานิคมในทศวรรษที่ 1990

วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ ส...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ชญาน์วัต ปัญญาเพชร
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77255/62004
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65101
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-65101
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-651012019-05-07T10:02:40Z ศิลปะร่วมสมัยไทยภายใต้แนวคิด หลังอาณานิคมในทศวรรษที่ 1990 Thai Contemporary Art under Postcolonialism in 1990s ชญาน์วัต ปัญญาเพชร วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) งานวิจัยเรื่อง “ศิลปะร่วมสมัยไทย1 ภายใต้แนวคิดหลังอาณานิคมในทศวรรษที่ 1990” เน้นศึกษาการทํางานศิลปะของศิลปินไทยจํานวน 3 ท่าน ได้แก่ ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช นาวิน ลาวัลย์ชัยกุล และสุธี คุณาวิชยานนท์ ภายใต้พื้นฐานการศึกษา ทฤษฎีหลังอาณานิคม เนื่องจากการศึกษาหลังอาณานิคมนั้นมีแนวคิดที่หลากหลาย งานวิจัยนี้จึงหยิบ แนวคิดบางส่วนที่เป็นรูปแบบเชิงภาพรวมแนวคิดหลักของหลังอาณานิคมคือ 1. แนวคิดบูรพาคตินิยม ที่ว่าด้วยการสร้างตัวแทนตะวันออกในสายตาของ ตะวันตกจากพื้นฐานวิธีคิดแบบทวิลักษณ์ 2. แนวคิดลูกผสม ที่นำมาอธิบาย ลักษณะการผสมผสานทางวัฒนธรรมเพื่อใช้ต่อรองปรัชญาสารัตถนิยมที่แฝง อยู่ในความคิดอาณานิคม 3. แนวคิดชาติในยุคสมัยใหม่ที่เป็นผลพวงจากลัทธิ อาณานิคม ความสมัพนัธร์ะหวา่งปฏบิตักิารศลิปะของศลิปนิทงั้ 3 ทา่นกบัทฤษฎหีลงัอาณานคิม บ่อยครั้งพบว่ามักเกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวัน สัญลักษณ์ชาติ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ของชาติ เชื้อชาติหรือชาติพันธุ์ โดยใช้กลวิธีการนําเสนอที่หลากหลายในรูปแบบ ผลงานศิลปะและความคิด ปฏิบัติการศิลปะของฤกษ์ฤทธิ์พบว่ามีแนวคิดการสร้าง ความเปน็อนื่และการผสมกลมกลนืทางวฒันธรรม สว่นปฏบิตักิารศลิปะของสธุแีละ นาวินเป็นทั้งการตอบสนองต่อความคิดชาตินิยม และเป็นการวิพากษ์ ท้าทาย หรือ ต่อรอง “ความเป็นไทย” หรือชาตินิยมทางวัฒนธรรมกระแสหลักไปพร้อมๆ กัน 2019-05-07T10:02:40Z 2019-05-07T10:02:40Z 2558 บทความวารสาร 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77255/62004 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65101 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)
format บทความวารสาร
author ชญาน์วัต ปัญญาเพชร
spellingShingle ชญาน์วัต ปัญญาเพชร
ศิลปะร่วมสมัยไทยภายใต้แนวคิด หลังอาณานิคมในทศวรรษที่ 1990
author_facet ชญาน์วัต ปัญญาเพชร
author_sort ชญาน์วัต ปัญญาเพชร
title ศิลปะร่วมสมัยไทยภายใต้แนวคิด หลังอาณานิคมในทศวรรษที่ 1990
title_short ศิลปะร่วมสมัยไทยภายใต้แนวคิด หลังอาณานิคมในทศวรรษที่ 1990
title_full ศิลปะร่วมสมัยไทยภายใต้แนวคิด หลังอาณานิคมในทศวรรษที่ 1990
title_fullStr ศิลปะร่วมสมัยไทยภายใต้แนวคิด หลังอาณานิคมในทศวรรษที่ 1990
title_full_unstemmed ศิลปะร่วมสมัยไทยภายใต้แนวคิด หลังอาณานิคมในทศวรรษที่ 1990
title_sort ศิลปะร่วมสมัยไทยภายใต้แนวคิด หลังอาณานิคมในทศวรรษที่ 1990
publisher คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77255/62004
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65101
_version_ 1681426205974200320