จองวัดม่อนจําศีล ลําปาง : ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจองอย่างพม่า และพัฒนาการทางรูปแบบสถาปัตยกรรม

วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ ส...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: เกรียงไกร เกิดศิริ, ฐาปกรณ์ เครือระยา, อิสรชัย บูรณะอรรจน์
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77256/62005
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65104
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-65104
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-651042019-05-07T10:02:40Z จองวัดม่อนจําศีล ลําปาง : ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจองอย่างพม่า และพัฒนาการทางรูปแบบสถาปัตยกรรม Wat Mon Cham Sin Kyuang, Lampang Province: Characteristics Burmese Architecture and Architectural Development เกรียงไกร เกิดศิริ ฐาปกรณ์ เครือระยา อิสรชัย บูรณะอรรจน์ วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) “จองแบบพม่าที่วัดม่อนจำศีล ลำปาง: ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจองอย่าง พม่า และพัฒนาการทางรูปแบบสถาปัตยกรรม” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติ ความเป็นมา และสถาปัตยกรรมทรงคุณค่าซึ่งเป็นองค์ประกอบภายในผังบริเวณ วัดม่อนจำศีล และรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของจองเมื่อแรกสร้าง ตลอดจนเพื่อ การบันทึกข้อมูลสภาพปัจจุบันของจอง ตลอดจนสถานการณ์การอนุรักษ์เพื่อเป็น ฐานข้อมูลในลักษณะจดหมายเหตุ เพื่อเป็นประวัติศาสตร์หน้าหนึ่งของตัวอาคาร เฉกเช่นเดียวกันกับความเปลี่ยนแปลงของรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของอาคารที่ เกิดขึ้นมาตลอดหน้าประวัติศาสตร์ จากการศกึษาพบวา่ “จองวดัมอ่นจำศลี” เปน็อาคารทม่ีปีระวตัศิาสตรก์ารกอ่สรา้งท่ี สัมพันธ์กับผู้คนหลากหลายกลุ่มชนชาติพันธ์ุซ่ึงมีภูมิลำเนาด้ังเดิมอยู่ในสาธารณรัฐ แห่งสหภาพเมียนมาร์ ทว่าเคลื่อนย้ายมาลงหลักปักฐานสร้างครอบครัวและธุรกิจ ที่เมืองลำปาง จึงมีการหยิบยืมรูปแบบทางสถาปัตยกรรมแบบอย่างพม่ามาใช้ใน การก่อสร้างเพื่อให้เชื่อมโยงกับสัมภาระทางวัฒนธรรมของตนเองในภูมิหลัง อย่างไรก็ดี จองวัดม่อนจำศีลไม่อาจรักษารูปแบบดั้งเดิมเหมือนเมื่อแรกสร้างไว้ได้ เนื่องจากมีการบูรณะ การปฏิสังขรณ์ การรื้อลง และการสร้างใหม่มาโดยตลอด และปราศจากการจดบนัทกึใดๆ คงเหลอืในความทรงจำเปน็ประวตัศิาสตรบ์อกเลา่ ทำให้การศึกษารูปแบบทางสถาปัตยกรรมดังเดิมของอาคารเป็นไปด้วยความยาก ลำบาก โดยการศึกษาเบื้องต้นจึงใช้การเปรียบเทียบกับจองหลังอื่นๆ ที่สร้างขึ้น ร่วมสมัยและบริบทแวดล้อมเดียวกัน จนกระทั่งปี พ.ศ. 2556 ได้มีการรวบรวม ภาพเก่าเกี่ยวกับเมืองลำปางมาจัดพิมพ์ และมีรูปภาพหนึ่งที่ไม่อาจจะอธิบายได้ ว่าเป็นภาพถ่ายของวัดใด แต่เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับสภาพปัจจุบันของจอง วัดม่อนจำศีลจึงพบว่าเป็นภาพถ่ายจองวัดม่อนจำศีลจากมุมมองทางด้านทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ ภาพนี้จึงกลายเป็นข้อมูลสำคัญที่ทำให้เห็นว่าจองวัดม่อนจำศีล ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงนั้นมีลักษณะทางสถาปัตยกรรมเป็นอย่างไร สำหรับเนื้อหาส่วนที่ 2 นั้นเป็นการนำเสนอข้อมูลโดยสรุปของสภาพ และ สถานการณ์ปัจจุบันของวิหารวัดม่อนจำศีลที่กำลังอยู่ในสภาพทรุดโทรมอย่าง หนัก เนื่องจากขาดการทำนุบำรุงและการดูแลมาอย่างยาวนาน ทว่าเริ่มมีความ พยายามในการอนุรักษ์โดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน และองค์กรเอกชน ที่มีจิตสำนึกในการพิทักษ์รักษามรดกทางสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรม ทว่ายังคง ติดขัดปัญหาบางประการ ซึ่งในอนาคตเมื่อกระบวนทัศน์ต่อการบริหารจัดการ มรดกวัฒนธรรม และมรดกทางสถาปัตยกรรมมีทิศทางที่ให้ความสำคัญกับ กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนมากขึ้น คงจะเป็นทิศทางที่สร้างความ ยั่งยืนต่อการบริหารจัดการมรดกทางสถาปัตยกรรม และมรดกทางวัฒนธรรม ของมนุษยชาติได้อย่างยั่งยืนมากขึ้น 2019-05-07T10:02:40Z 2019-05-07T10:02:40Z 2558 บทความวารสาร 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77256/62005 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65104 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)
format บทความวารสาร
author เกรียงไกร เกิดศิริ
ฐาปกรณ์ เครือระยา
อิสรชัย บูรณะอรรจน์
spellingShingle เกรียงไกร เกิดศิริ
ฐาปกรณ์ เครือระยา
อิสรชัย บูรณะอรรจน์
จองวัดม่อนจําศีล ลําปาง : ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจองอย่างพม่า และพัฒนาการทางรูปแบบสถาปัตยกรรม
author_facet เกรียงไกร เกิดศิริ
ฐาปกรณ์ เครือระยา
อิสรชัย บูรณะอรรจน์
author_sort เกรียงไกร เกิดศิริ
title จองวัดม่อนจําศีล ลําปาง : ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจองอย่างพม่า และพัฒนาการทางรูปแบบสถาปัตยกรรม
title_short จองวัดม่อนจําศีล ลําปาง : ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจองอย่างพม่า และพัฒนาการทางรูปแบบสถาปัตยกรรม
title_full จองวัดม่อนจําศีล ลําปาง : ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจองอย่างพม่า และพัฒนาการทางรูปแบบสถาปัตยกรรม
title_fullStr จองวัดม่อนจําศีล ลําปาง : ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจองอย่างพม่า และพัฒนาการทางรูปแบบสถาปัตยกรรม
title_full_unstemmed จองวัดม่อนจําศีล ลําปาง : ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจองอย่างพม่า และพัฒนาการทางรูปแบบสถาปัตยกรรม
title_sort จองวัดม่อนจําศีล ลําปาง : ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจองอย่างพม่า และพัฒนาการทางรูปแบบสถาปัตยกรรม
publisher คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77256/62005
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65104
_version_ 1681426206541479936