พระธาตุล้านนา: การท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ ในสังคมโลกาภิวัตน

วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ ส...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุวิภา จำปาวัลย์
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77248/61998
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65106
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-65106
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-651062019-05-07T10:02:40Z พระธาตุล้านนา: การท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ ในสังคมโลกาภิวัตน The Relic-Enshrining Pagoda in Lan Na: Conservation and Tourism in the Globalized Society. สุวิภา จำปาวัลย์ วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) การศึกษาพระธาตุในสังคมล้านนา เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างพระธาตุกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมล้านนา ในความหมายของพระธาตุล้านนาที่รวมพระบรมสารีริกธาตุ และสถาปัตยกรรมพระธาตุเจดีย์เข้าด้วยกัน ได้เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนา ที่พึ่งทางจิตใจของชาวล้านนาในอดีต เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และเป็นแหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิงวัฒนธรรมที่มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ในการอภิปรายผลการศึกษา พบว่าความเชื่อเรื่องพระธาตุล้านนาในสังคมโลกาภิวัตน์นั้นเปลี่ยนไปตามแนวคิดระบบทุนนิยมที่เปลี่ยนวัฒนธรรมกลายเป็นสินค้า ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวในสังคม 2 ลักษณะ คือ การอนุรักษ์ และการท่องเที่ยว เพื่อรื้อฟื้นเรื่องราวและประเพณีของพระธาตุในสังคมรัฐจารีตอีกครั้ง ให้เกิดประโยชน์แก่ท้องถิ่นทั้งด้านความรู้ทางประวัติศาสตร์ การอนุรักษ์การเพิ่มมูลค่าแหล่งท่องเที่ยว และยังคงเป็นที่พึ่งทางจิตใจแก่ผู้คนสืบเนื่องมาถึงปัจจุบัน 2019-05-07T10:02:40Z 2019-05-07T10:02:40Z 2558 บทความวารสาร 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77248/61998 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65106 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)
format บทความวารสาร
author สุวิภา จำปาวัลย์
spellingShingle สุวิภา จำปาวัลย์
พระธาตุล้านนา: การท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ ในสังคมโลกาภิวัตน
author_facet สุวิภา จำปาวัลย์
author_sort สุวิภา จำปาวัลย์
title พระธาตุล้านนา: การท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ ในสังคมโลกาภิวัตน
title_short พระธาตุล้านนา: การท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ ในสังคมโลกาภิวัตน
title_full พระธาตุล้านนา: การท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ ในสังคมโลกาภิวัตน
title_fullStr พระธาตุล้านนา: การท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ ในสังคมโลกาภิวัตน
title_full_unstemmed พระธาตุล้านนา: การท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ ในสังคมโลกาภิวัตน
title_sort พระธาตุล้านนา: การท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ ในสังคมโลกาภิวัตน
publisher คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77248/61998
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65106
_version_ 1681426206914772992