จะเข้ในบริบทสังคมไทย
วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ ส...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Format: | บทความวารสาร |
Language: | Tha |
Published: |
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77251/62001 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65112 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-65112 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-651122019-05-07T10:02:41Z จะเข้ในบริบทสังคมไทย Ja-Khay : Context of Thai society มนศักดิ์ มหิงษ์ อำนาจ เย็นสบาย วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) การศึกษาจะเข้ในบริบทสังคมไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์เครื่องดนตรีจะเข้ในการดำรงอยู่กับสังคมไทย และศึกษากรรมวิธีและกระบวนการประดิษฐ์จะเข้ในประเทศไทย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการศึกษาจากเอกสาร (Documentary Research) การเก็บข้อมูลภาคสนาม (Field Study) ในช่วง พ.ศ.2551-2557 การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informant Interview) และการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูล เพื่ออธิบายการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ บริบท และความเชื่อเกี่ยวกับจะเข้ที่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการศึกษา และวัฒนธรรม จากการศึกษาข้อมูลกรรมวิธีการประดิษฐ์จะเข้ของช่างทำจะเข้ จำนวน 9 แหล่ง พบว่ามีแนวคิดและหลักการสร้างที่แตกต่างกัน โดยที่ช่างทำจะเข้จะได้รับอิทธิพลจากนักดีดจะเข้ในการสร้าง และเกิดความนิยมต่อนักดีดจะเข้ในระดับปัจเจกมากขึ้น ซึ่งในยุคปัจจุบันจะเข้ได้มีพัฒนาการด้านรูปแบบ เพื่อเกิดการดำรงอยู่ของช่างทำจะเข้ ซึ่งเกิดจากการผลิตด้วยกรรมวิธีประดิษฐ์แบบโบราณสู่การใช้เทคโนโลยีผลิตเพื่อการตลาด และพบว่าสัดส่วนของจะเข้ในสังคมไทยมีการสร้างอยู่ 10 ขนาด ขนาดเล็กมีความกว้าง 21 เซนติเมตร และขนาดใหญ่ความกว้าง 30 เซนติเมตร ขนาดที่เป็นที่นิยม คือ ความกว้าง 26-28 เซนติเมตร โดยยุคแรกจะเข้นิยมมีกระพุ้งเป็นทรงใบมะยม แต่ปัจจุบันนิยมกระพุ้งทรงใบขนุน ส่วนวัสดุที่สร้างเป็นไม้วงศ์ขนุน (Artocarpus) ร่วมกับไม้วงศ์อื่นๆ ที่หลากหลาย โดยช่างหาสัดส่วนของจะเข้จากประสบการณ์ และมีการปรับเปลี่ยนวัสดุเพื่อสร้างกลยุทธการขายเพื่อการดำรงอยู่ของช่าง 2019-05-07T10:02:41Z 2019-05-07T10:02:41Z 2558 บทความวารสาร 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77251/62001 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65112 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
description |
วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) |
format |
บทความวารสาร |
author |
มนศักดิ์ มหิงษ์ อำนาจ เย็นสบาย |
spellingShingle |
มนศักดิ์ มหิงษ์ อำนาจ เย็นสบาย จะเข้ในบริบทสังคมไทย |
author_facet |
มนศักดิ์ มหิงษ์ อำนาจ เย็นสบาย |
author_sort |
มนศักดิ์ มหิงษ์ |
title |
จะเข้ในบริบทสังคมไทย |
title_short |
จะเข้ในบริบทสังคมไทย |
title_full |
จะเข้ในบริบทสังคมไทย |
title_fullStr |
จะเข้ในบริบทสังคมไทย |
title_full_unstemmed |
จะเข้ในบริบทสังคมไทย |
title_sort |
จะเข้ในบริบทสังคมไทย |
publisher |
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77251/62001 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65112 |
_version_ |
1681426208030457856 |