เทศมหาชาติล้านนา: ลักษณะเฉพาะทางดุริยางคศิลป์ที่พบในการเทศน์ของพุทธศาสนาเถรวาท

วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ ส...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พรประพิตร์ เผ่าสวัสดิ์
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77159/61949
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65123
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-65123
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-651232019-05-07T10:02:41Z เทศมหาชาติล้านนา: ลักษณะเฉพาะทางดุริยางคศิลป์ที่พบในการเทศน์ของพุทธศาสนาเถรวาท Recitation of Maha Jataka in Lanna: Musical Characteristics of Melodic Preaching in Theravada Buddhist Tradition พรประพิตร์ เผ่าสวัสดิ์ วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) งานวิจัยเรื่องเทศน์มหาชาติล้านนา: ลักษณะเฉพาะทางดุริยางคศิลป์ที่พบในประเพณีศาสนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทที่เกี่ยวข้องกับประเพณีเทศน์มหาชาติในวัฒนธรรมล้านนาและเพื่อวิเคราะห์ทำนองเทศน์มหาชาติกัณฑ์มัทที กัณฑ์กุมารและกัณฑ์มหาราชโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลในภาคเหนือรวม 8 จังหวัดระหว่าง พ.ศ. 2551-2556 ร่วมกับการสัมภาษณ์พระภิกษุนักเทศน์ 11 รูป ความเชื่อเรื่องอานิสงส์การฟังเทศน์มหาชาติยังมีความสำคัญในสังคมล้านนา ในปัจจุบันมี 2 รูปแบบคือการเทศน์ประจำปีแบบดั้งเดิม และแบบการสืบชะตาอายุซึ่งพบเฉพาะในเทศน์มหาชาติล้านนา ส่วนทำนองนั้นมีทั้งลักษณะร่วมและมีความแตกต่างกันในแต่ละจังหวัด ทำ นองเฉพาะในการเทศน์เรียกว่าระบำ มี 7 ทำนองแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือทำนองที่ใช้ในการเทศน์ทั่วไป และทำนองที่ใช้ในการเทศน์มหาชาติเท่านั้น ทำนองธรรมวัตรและทำนองไก่สับด้งเป็นทำนองที่ใช้เดินธรรม ใช้เป็นทำนองเทศน์ในการเทศน์มหาชาติ ส่วนทำนองม้ายํ่าไฟ มะนาวล่องของ นํ้าตกตาด หมาไต่คันนาและพร้าวไกวใบ ใช้เฉพาะในเทศน์มหาชาติ การจัดแบ่งหน้าที่ของทำนอง การใช้ลมหายใจยาว การใช้ทำนองเฉพาะ การใช้เอื้อนเสียงยาว การใช้กลุ่มเสียงอ้างอิง และการจัดระดับเสียงเป็นลักษณะสำคัญของเทศน์มหาชาติ 2019-05-07T10:02:41Z 2019-05-07T10:02:41Z 2559 บทความวารสาร 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77159/61949 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65123 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)
format บทความวารสาร
author พรประพิตร์ เผ่าสวัสดิ์
spellingShingle พรประพิตร์ เผ่าสวัสดิ์
เทศมหาชาติล้านนา: ลักษณะเฉพาะทางดุริยางคศิลป์ที่พบในการเทศน์ของพุทธศาสนาเถรวาท
author_facet พรประพิตร์ เผ่าสวัสดิ์
author_sort พรประพิตร์ เผ่าสวัสดิ์
title เทศมหาชาติล้านนา: ลักษณะเฉพาะทางดุริยางคศิลป์ที่พบในการเทศน์ของพุทธศาสนาเถรวาท
title_short เทศมหาชาติล้านนา: ลักษณะเฉพาะทางดุริยางคศิลป์ที่พบในการเทศน์ของพุทธศาสนาเถรวาท
title_full เทศมหาชาติล้านนา: ลักษณะเฉพาะทางดุริยางคศิลป์ที่พบในการเทศน์ของพุทธศาสนาเถรวาท
title_fullStr เทศมหาชาติล้านนา: ลักษณะเฉพาะทางดุริยางคศิลป์ที่พบในการเทศน์ของพุทธศาสนาเถรวาท
title_full_unstemmed เทศมหาชาติล้านนา: ลักษณะเฉพาะทางดุริยางคศิลป์ที่พบในการเทศน์ของพุทธศาสนาเถรวาท
title_sort เทศมหาชาติล้านนา: ลักษณะเฉพาะทางดุริยางคศิลป์ที่พบในการเทศน์ของพุทธศาสนาเถรวาท
publisher คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77159/61949
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65123
_version_ 1681426210047918080