ความจริงของเมสติซา และความฝันของลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ โดย นิค จาวควิน ใน ผู้หญิงที่มีสองสะดือ
มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิก...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/127719/96258 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65936 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-65936 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-659362019-08-21T08:45:31Z ความจริงของเมสติซา และความฝันของลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ โดย นิค จาวควิน ใน ผู้หญิงที่มีสองสะดือ Mestiza Reality and the Dream of Philippine Nationalism in Nick Joaquin’s The Woman Who Had Two Navels ชลาธิป วสุวัต ลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ นิค จาวควิน ผู้หญิง-ชาติ มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน บทความวิจัยนี้สำรวจการเดินทางของผู้หญิงชาวฟิลิปปินส์ในการพัฒนาอัตลักษณ์ความเป็นชาติของตนเองในเรื่องสั้นแนวเปรียบเทียบ หรือ อุปมานิทัศน์ เรื่อง “ผู้หญิงที่มีสองสะดือ” เขียนโดย นิค จาวควิน ซึ่งเป็นนักเขียนชาวฟิลิปปินส์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของประเทศ เมื่อเรื่องสั้นเรื่องนี้เริ่มต้นขึ้นในช่วงปีแรกๆ ของการสร้างชาติ ตัวละครเอกหญิงทั้งสองถูกนำเสนอในลักษณะของการต่อรองอัตลักษณ์เมสติซา หรือ อัตลักษณ์ลูกผสมของตน ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการต่อสู้กับความขัดแย้งหลายประการของประเทศฟิลิปปินส์ หลังจากที่ประเทศนี้ได้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของหลากหลายประเทศจ้าวอาณานิคมเป็นระยะเวลายาวนาน นอกจากนี้ จาวควิน ยังได้นำเสนอภาพแทนของตัวละครชายและปฏิสัมพันธ์ของตัวละครเหล่านี้ที่มีต่อตัวละครเอกหญิงเพื่อสะท้อนให้เห็นความล้มเหลวของลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ที่นำโดยผู้ชาย บทความนี้ต้องการจะชี้ให้เห็นว่าการใช้สัญลักษณ์ของจาวควินในเรื่องสั้นเรื่องนี้สามารถนำมาวิเคราะห์ภายในบริบทของทฤษฎีสตรีนิยมหลังอาณานิคม ซึ่งจะช่วยเน้นย้ำแนวคิดที่ว่าผู้หญิงเปรียบเสมือนชาติ / แผ่นดินแม่ เรื่องสั้นเรื่องนี้แสดงให้เห็นว่าเมื่อฝ่ายชายล้มเหลวถึงสองครั้งในการปกป้องประเทศจากการรุกรานของจ้าวอาณานิคม และท้ายที่สุดชายเหล่านั้นต้องหลบหนีออกจากแผ่นดินแม่ จึงถึงเวลาที่ฝ่ายหญิงต้องริเริ่มที่จะทำหน้าที่ปกป้องประเทศแทนชายเหล่านั้น จินตภาพของผู้หญิงที่ถูกบรรยายซ้ำๆ กันตลอดเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นการบรรยายภาพของภูเขาที่มีลักษณะเหมือนผู้หญิง หรือ การเล่าเรื่องผู้หญิงที่มีเสน่ห์เย้ายวนใจวิ่งไล่ตามผู้ชายชาวฟิลิปปินส์พลัดถิ่นในเมืองฮ่องกง ล้วนแล้วแต่เป็นการอุปมาอุปไมยถึงประเทศฟิลิปปินส์ เสมือนว่าประเทศนี้เป็น แม่ผู้เศร้าโศก/แผ่นดินแม่ ซึ่งเฝ้ารอคอยการกลับมาของชายหนุ่มฟิลิปปินส์เพื่อกลับมาสร้างชาติ ถึงแม้ว่าการกลับมายังประเทศฟิลิปปินส์ของตัวละครชายจะเป็นไปไม่ได้ในเรื่องสั้นเรื่องนี้ แต่จาวควินชี้แนะว่าลัทธิชาตินิยมของฟิลิปปินส์เป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง และจะสามารถประสบความสำเร็จได้ก็เมื่อทั้งผู้ชายและผู้หญิงร่วมมือกันเท่านั้น ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะขจัดความแตกแยก และความไม่สมัครสมานสามัคคีกันที่พบได้ทั้งในระดับตนเองและระดับชาติ 2019-08-21T08:45:31Z 2019-08-21T08:45:31Z 2560 มนุษยศาสตร์สาร 18, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2560), 12-42 2630-0370 https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/127719/96258 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65936 Tha มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ นิค จาวควิน ผู้หญิง-ชาติ |
spellingShingle |
ลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ นิค จาวควิน ผู้หญิง-ชาติ ชลาธิป วสุวัต ความจริงของเมสติซา และความฝันของลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ โดย นิค จาวควิน ใน ผู้หญิงที่มีสองสะดือ |
description |
มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน |
author |
ชลาธิป วสุวัต |
author_facet |
ชลาธิป วสุวัต |
author_sort |
ชลาธิป วสุวัต |
title |
ความจริงของเมสติซา และความฝันของลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ โดย นิค จาวควิน ใน ผู้หญิงที่มีสองสะดือ |
title_short |
ความจริงของเมสติซา และความฝันของลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ โดย นิค จาวควิน ใน ผู้หญิงที่มีสองสะดือ |
title_full |
ความจริงของเมสติซา และความฝันของลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ โดย นิค จาวควิน ใน ผู้หญิงที่มีสองสะดือ |
title_fullStr |
ความจริงของเมสติซา และความฝันของลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ โดย นิค จาวควิน ใน ผู้หญิงที่มีสองสะดือ |
title_full_unstemmed |
ความจริงของเมสติซา และความฝันของลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ โดย นิค จาวควิน ใน ผู้หญิงที่มีสองสะดือ |
title_sort |
ความจริงของเมสติซา และความฝันของลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ โดย นิค จาวควิน ใน ผู้หญิงที่มีสองสะดือ |
publisher |
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/127719/96258 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65936 |
_version_ |
1681426361763233792 |