ท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยาในปรัชญาญี่ปุ่น

มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิก...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สรายุทธ เลิศปัจฉิมนันท์, คำแหง วิสุทธางกูร
Language:Tha
Published: มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/131628/98783
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65937
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-65937
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-659372019-08-21T08:45:31Z ท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยาในปรัชญาญี่ปุ่น Phenomenological Attitude in Japanese Philosophy สรายุทธ เลิศปัจฉิมนันท์ คำแหง วิสุทธางกูร ปรากฏการณ์วิทยา ท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยา ปรัชญาญี่ปุ่น มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน ปรากฏการณ์วิทยาเป็นวิธีวิทยาของปรัชญาตะวันตกที่ริเริ่มโดย เอ็ดมุนด์ ฮุสเซิร์ล ซึ่งมีท่าทีที่สำคัญคือการลดทอนเชิงปรากฏการณ์วิทยา แต่ท่าทีดังกล่าวไม่ได้มีแต่ในปรัชญาตะวันตกเท่านั้น ในปรัชญาตะวันออกโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปรัชญาญี่ปุ่น ก็มีท่าทีแบบนั้นอยู่ บทความนี้จึงมีความมุ่งหมายที่จะเสนอให้เห็นถึงท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยาในปรัชญาญี่ปุ่นก่อนสมัยใหม่ รวมถึงอิทธิพลของปรากฏการณ์วิทยาตะวันตก ที่มีต่อปรัชญาญี่ปุ่นสมัยใหม่และร่วมสมัย ซึ่งทำให้พบว่าปรัชญาญี่ปุ่นแบบแผนดั้งเดิมของโดเง็นนั้น สนใจประเด็นปัญหาเรื่องการไตร่ตรองเจตนารมณ์ของจิต โดยแบ่งแยกอารมณ์ของการคิดและการไม่คิดออกจากกัน เพื่อนำไปสู่การไร้คิด ส่วนปรัชญาญี่ปุ่นสมัยใหม่ของนิชิดะ คิตะโร เริ่มต้นจากการชี้ให้เห็นข้อบกพร่องในปรากฏการณ์วิทยาของฮุสเซิร์ลที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของอัตภาวะและประสบการณ์บริสุทธิ์ และเสนอแนวคิดเรื่องประสบการณ์พิสุทธิ์แท้ที่เกี่ยวข้องกับนัตถิภาวะสัมบูรณ์ ซึ่งทั้งวิธีคิดของนิชิดะและอิทธิพลของปรากฏการณ์วิทยา ต่างก็ส่งผลต่อกระแสความคิดในปรัชญาญี่ปุ่นร่วมสมัยเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน 2019-08-21T08:45:31Z 2019-08-21T08:45:31Z 2561 มนุษยศาสตร์สาร 19, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 179-207 2630-0370 https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/131628/98783 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65937 Tha มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ปรากฏการณ์วิทยา
ท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยา
ปรัชญาญี่ปุ่น
spellingShingle ปรากฏการณ์วิทยา
ท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยา
ปรัชญาญี่ปุ่น
สรายุทธ เลิศปัจฉิมนันท์
คำแหง วิสุทธางกูร
ท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยาในปรัชญาญี่ปุ่น
description มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน
author สรายุทธ เลิศปัจฉิมนันท์
คำแหง วิสุทธางกูร
author_facet สรายุทธ เลิศปัจฉิมนันท์
คำแหง วิสุทธางกูร
author_sort สรายุทธ เลิศปัจฉิมนันท์
title ท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยาในปรัชญาญี่ปุ่น
title_short ท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยาในปรัชญาญี่ปุ่น
title_full ท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยาในปรัชญาญี่ปุ่น
title_fullStr ท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยาในปรัชญาญี่ปุ่น
title_full_unstemmed ท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยาในปรัชญาญี่ปุ่น
title_sort ท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยาในปรัชญาญี่ปุ่น
publisher มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/131628/98783
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65937
_version_ 1681426361943588864