สัมพันธบทในนิทานไวยากรณ์ของ เอริค ออร์เซนนา

มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิก...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ธีรา ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา
Language:Tha
Published: มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/127721/96266
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65938
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-65938
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-659382019-08-21T08:45:31Z สัมพันธบทในนิทานไวยากรณ์ของ เอริค ออร์เซนนา Intertextuality in Grammar Tales by Erik Orsenna ธีรา ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา สัมพันธบท นิทานไวยากรณ์ การสร้างความโน้มเอียงทางอุปนิสัย การธำรงรักษาภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน บทความฉบับนี้นำเสนอการศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวบทของนิทานไวยากรณ์และตัวบทจากแหล่งต่างๆ ที่มีมาก่อนหน้าในแง่มุมของสัมพันธบท ซึ่งปรากฏร่องรอยเด่นชัดในนิทานไวยากรณ์ทั้งห้าเรื่องของ เอริค ออร์เซนนา โดยศึกษาสัมพันธบทในกลวิธีการเขียนในมิติของบทละครและกวีนิพนธ์ ภาพนักเขียนและวรรณกรรม ในส่วนการวิเคราะห์ผู้วิจัยอาศัยกรอบแนวคิดเรื่องโครงสร้างภาษาของนักวิชาการด้านภาษาศาสตร์ในแนวคิดโครงสร้างนิยมและแนวคิดหลังโครงสร้างนิยม ซึ่งทำให้เห็นว่าสัญญะทางภาษามีลักษณะไม่แน่นอนตายตัว แต่เป็นเครือข่ายความสัมพันธ์ที่ตอบโต้ ผสมผสานระหว่างความแตกต่างที่หลอมตัวกันเข้ามา ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนความหมายของตัวบทหนึ่งๆ ได้ สิ่งนี้นำไปสู่ประเด็นคำถามของงานวิจัยถึงเหตุผลของการใช้สัมพันธบท การผสานตัวบท และผลของการใช้สัมพันธบทที่มีต่อนิทานไวยากรณ์ของนักเขียนท่านนี้ ผลการวิจัยได้พบว่า ลักษณะประการแรกผู้ประพันธ์ได้กล่าวถึงชื่อวรรณกรรม ชื่อของตัวละครที่โด่งดังหรือพาดพิงถึงฉากสำคัญของวรรณกรรมหรือหนังสือเล่มอื่นๆ ลักษณะประการต่อมา ยังได้พบการสร้างสัมพันธบทโดยเชื่อมโยงถ้อยคำ ประโยค ตัวบทวรรณกรรมและตัวบทที่เป็นงานศิลปะแขนงอื่นๆ รวมทั้งถ้อยคำของสังคม กล่าวโดยสรุปคือ การใช้สัมพันธบทของผู้ประพันธ์เป็นการแฝงอุดมการณ์เพื่อธำรงรักษาภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส เพราะนอกจากตัวบทเหล่านั้นจะเป็นภาพแทนความหมายทางวัฒนธรรมแล้ว ยังส่งเสริมการปลูกฝังความโน้มเอียงทางอุปนิสัย (ที่เรียกว่า ฮาบิทัส) ในการรับวัฒนธรรมที่มีคุณค่าให้เกิดแก่ปัจเจกบุคคล และกลุ่มคนในสังคมได้อีกด้วย 2019-08-21T08:45:31Z 2019-08-21T08:45:31Z 2560 มนุษยศาสตร์สาร 18, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2560), 43-83 2630-0370 https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/127721/96266 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65938 Tha มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic สัมพันธบท
นิทานไวยากรณ์
การสร้างความโน้มเอียงทางอุปนิสัย
การธำรงรักษาภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส
spellingShingle สัมพันธบท
นิทานไวยากรณ์
การสร้างความโน้มเอียงทางอุปนิสัย
การธำรงรักษาภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส
ธีรา ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา
สัมพันธบทในนิทานไวยากรณ์ของ เอริค ออร์เซนนา
description มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน
author ธีรา ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา
author_facet ธีรา ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา
author_sort ธีรา ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา
title สัมพันธบทในนิทานไวยากรณ์ของ เอริค ออร์เซนนา
title_short สัมพันธบทในนิทานไวยากรณ์ของ เอริค ออร์เซนนา
title_full สัมพันธบทในนิทานไวยากรณ์ของ เอริค ออร์เซนนา
title_fullStr สัมพันธบทในนิทานไวยากรณ์ของ เอริค ออร์เซนนา
title_full_unstemmed สัมพันธบทในนิทานไวยากรณ์ของ เอริค ออร์เซนนา
title_sort สัมพันธบทในนิทานไวยากรณ์ของ เอริค ออร์เซนนา
publisher มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/127721/96266
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65938
_version_ 1681426362126041088