การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืนของครูในศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา จังหวัดเชียงใหม่
มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิก...
Saved in:
Main Authors: | , , , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/131630/98771 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65940 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-65940 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-659402019-08-21T08:45:31Z การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืนของครูในศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา จังหวัดเชียงใหม่ Knowledge Management for sustainable development highland Area of Teachers in Mae Fah Laung Learning Center for Hilltribes, Chiang Mai ชรินทร์ มั่งคั่ง พัชนี จันทร์ศิริ พิมพา นวลสวรรค์ มุกดาวรรณ สังข์สุข พัชราภรณ์ อนุกูล การจัดการความรู้ ศูนย์การเรียนรู้ ครู พื้นที่สูง การพัฒนาอย่างยั่งยืน มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทการจัดการเรียนรู้และแนวทางการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืนของครูในศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขาในจังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายที่ให้ข้อมูลหลักได้จากการเจาะจงครูศูนย์การเรียนรู้ในพื้นที่สูงซึ่งเป็นพื้นที่พัฒนาโครงการหลวงและมีศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขาที่เข้าไปจัดการเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมีแบบสัมภาษณ์เชิงลึกและแบบบันทึกการสนทนากลุ่มโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาจากผลการวิจัย พบว่า บริบทการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืนของครูได้มีการกระบวนจัดการการเรียนรู้เชิงพื้นที่โดยสำรวจและรวบรวมข้อมูลหมู่บ้านเพื่อเป็นองค์ความรู้ในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนก่อนวัยเรียน และผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ไม่รู้หนังสือ การพัฒนาอาชีพให้กลุ่มผู้สนใจในชุมชน การพัฒนาทักษะชีวิต โดยใช้วิธีการประสานงานกับผู้นำชุมชน การสร้างเครือข่ายในท้องถิ่น การมีส่วนร่วมประชุมกับชุมชน และการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารเพื่อให้คนชุมชนได้รับรู้การเปลี่ยนแปลงจากภายนอก ในส่วนการใช้องค์ความรู้เชิงพื้นที่ของครูที่นำองค์ความรู้ไปดำเนินการจนเกิดแนวปฏิบัติที่ดีได้แก่ ชุมชนมีแผนพัฒนาแบบมีส่วนร่วม ชุมชนมีเครือข่ายการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พลเมืองมีจิตสำนึกท้องถิ่น ผลของการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน คือ ชุมชนมีพลังเข้มแข็งในการอนุรักษ์ประเพณี สืบทอดวัฒนธรรมชนเผ่า จัดตั้งกลุ่มสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพและอนามัยของชุมชน มีกลุ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น สร้างปฏิญญาและข้อบังคับของชุมชนเพื่ออยู่ร่วมกันในชุมชนอย่างสันติ สำหรับแนวทางการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืนของครูศูนย์การเรียนรู้ชุมชนมี 5องค์ประกอบ คือ FPCIL ได้แก่ 1) การอำนวยความสะดวก (facilitator: F) 2) การจัดทำแผนแผนชุมชนแบบมีส่วนร่วม (participatory assessment and planning: P) 3) การเพิ่มคุณค่าทุนชุมชน (community capital value added: C) 4) การสร้างนวัตกรรมชุดความรู้(innovation of knowledge: I) และ 5) การถอดบทเรียน (lesson-learned: L) 2019-08-21T08:45:31Z 2019-08-21T08:45:31Z 2561 มนุษยศาสตร์สาร 19, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 208-236 2630-0370 https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/131630/98771 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65940 Tha มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
การจัดการความรู้ ศูนย์การเรียนรู้ ครู พื้นที่สูง การพัฒนาอย่างยั่งยืน |
spellingShingle |
การจัดการความรู้ ศูนย์การเรียนรู้ ครู พื้นที่สูง การพัฒนาอย่างยั่งยืน ชรินทร์ มั่งคั่ง พัชนี จันทร์ศิริ พิมพา นวลสวรรค์ มุกดาวรรณ สังข์สุข พัชราภรณ์ อนุกูล การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืนของครูในศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา จังหวัดเชียงใหม่ |
description |
มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน |
author |
ชรินทร์ มั่งคั่ง พัชนี จันทร์ศิริ พิมพา นวลสวรรค์ มุกดาวรรณ สังข์สุข พัชราภรณ์ อนุกูล |
author_facet |
ชรินทร์ มั่งคั่ง พัชนี จันทร์ศิริ พิมพา นวลสวรรค์ มุกดาวรรณ สังข์สุข พัชราภรณ์ อนุกูล |
author_sort |
ชรินทร์ มั่งคั่ง |
title |
การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืนของครูในศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา จังหวัดเชียงใหม่ |
title_short |
การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืนของครูในศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา จังหวัดเชียงใหม่ |
title_full |
การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืนของครูในศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา จังหวัดเชียงใหม่ |
title_fullStr |
การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืนของครูในศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา จังหวัดเชียงใหม่ |
title_full_unstemmed |
การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืนของครูในศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา จังหวัดเชียงใหม่ |
title_sort |
การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืนของครูในศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา จังหวัดเชียงใหม่ |
publisher |
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/131630/98771 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65940 |
_version_ |
1681426362509819904 |