อุปลักษณ์สงครามสู่ “ความฝันจีน”
มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิก...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/163217/117956 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65943 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-65943 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-659432019-08-21T08:45:31Z อุปลักษณ์สงครามสู่ “ความฝันจีน” From War Metaphors towards “CHINESE DREAM” Yao Siqi ความฝันจีน อุปลักษณ์สงคราม ระบบมโนทัศน์ ประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน “ความฝันจีน” เป็นประเด็นที่ถูกกล่าวถึงในประเทศจีนอย่างกว้างขวาง และยังได้รับความสนใจจากชาวต่างชาติด้วย บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษาอุปลักษณ์สงครามกับ “ความฝันจีน” ตามแนวคิดทฤษฎีอุปลักษณ์มโนทัศน์ โดยพิจารณาจากรูปภาษาแสดงอุปลักษณ์สงครามที่ปรากฏในวาทกรรมการเมืองจากการกล่าวสุนทรพจน์ของประธานาธิบดีจีนสีจิ้นผิง พร้อมทั้งวิเคราะห์ผู้ใช้ภาษาอธิบายแนวคิด “ความฝันจีน” ซึ่งเป็นมโนทัศน์เชิงนามธรรมโดยอาศัยการใช้อุปลักษณ์สงครามอย่างไร ผลการศึกษาไม่เพียงแต่แสดงให้เห็นถึงการใช้อุปลักษณ์สงครามเป็นเครื่องมือที่ช่วยอธิบายแนวคิด “ความฝันจีน” ได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยมีการถ่ายโยงความสัมพันธ์ทางความหมายจากมโนทัศน์ต้นทาง “สงคราม” ไปยังมโนทัศน์ปลายทาง “ความฝันจีน” ขณะเดียวกันยังสะท้อนถึงจิตวิญญาณแห่งชนชาติจีนที่ขยันหมั่นเพียร กล้าหาญ และมุมานะบากบั่น ซึ่งได้รับอิทธิพลทั้งจากลัทธิชาตินิยมที่มีมาอย่างยาวนานและประวัติศาสตร์อันลึกซึ้ง รวมทั้งจากแนวคิดการปฏิรูปการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ทันยุคสมัย นอกจากนี้ การใช้อุปลักษณ์สงครามในการกล่าวถึง “ความฝันจีน” ยังเป็นกลวิธีที่มีประสิทธิภาพในการถ่ายทอดความคิดและสื่อถึงอุดมการณ์ของผู้ใช้ภาษาอีกด้วย ซึ่งสามารถกระตุ้นการสำนึกรับผิดชอบของเยาวชนในประวัติศาสตร์ชาติจีน แนะนำเยาวชนให้มีมุมมองของโลกที่ถูกต้องและเข้าใจในค่านิยมแห่งชีวิต ส่งเสริมให้ประชาชนกระตือรือร้นที่จะมีส่วนร่วมในการสร้างความฝันจีนในทางปฏิบัติให้เกิดขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้มีความหลงใหลในความฝันจีนเพื่อให้ความฝันจีนฝังลึกลงไปในใจของเยาวชน และช่วยกันทำงานสำคัญเพื่อเตรียมพร้อมร่วมกันผลักดันการเติบโตครั้งยิ่งใหญ่ของประเทศจีน 2019-08-21T08:45:31Z 2019-08-21T08:45:31Z 2561 มนุษยศาสตร์สาร 19, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 71-101 2630-0370 https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/163217/117956 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65943 Tha มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ความฝันจีน อุปลักษณ์สงคราม ระบบมโนทัศน์ ประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม |
spellingShingle |
ความฝันจีน อุปลักษณ์สงคราม ระบบมโนทัศน์ ประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม Yao Siqi อุปลักษณ์สงครามสู่ “ความฝันจีน” |
description |
มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน |
author |
Yao Siqi |
author_facet |
Yao Siqi |
author_sort |
Yao Siqi |
title |
อุปลักษณ์สงครามสู่ “ความฝันจีน” |
title_short |
อุปลักษณ์สงครามสู่ “ความฝันจีน” |
title_full |
อุปลักษณ์สงครามสู่ “ความฝันจีน” |
title_fullStr |
อุปลักษณ์สงครามสู่ “ความฝันจีน” |
title_full_unstemmed |
อุปลักษณ์สงครามสู่ “ความฝันจีน” |
title_sort |
อุปลักษณ์สงครามสู่ “ความฝันจีน” |
publisher |
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/163217/117956 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65943 |
_version_ |
1681426363077099520 |