ท่วงทำนองการเขียนในตำราจริยศาสตร์ล้านนา
มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิก...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/163234/117972 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65944 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-65944 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-659442019-08-21T08:45:32Z ท่วงทำนองการเขียนในตำราจริยศาสตร์ล้านนา Writing Styles in Lanna Ethics Texts จเด็จ เตชะสาย ตำราจริยศาสตร์ล้านนา ท่วงทำนองการเขียน มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน บทความนี้มุ่งเพื่อศึกษาท่วงทำนองการเขียนในตำราจริยศาสตร์ล้านนา โดยศึกษาจากตำราจริยศาสตร์ล้านนาจำนวน 7 ฉบับ ผลการศึกษาพบว่าตำราจริยศาสตร์ล้านนามีองค์ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนเปิดเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วนปิดเรื่อง การเปิดเรื่องมี 2 ลักษณะ คือ การเปิดเรื่องด้วยถ้อยคำมงคล และการเปิดเรื่องด้วยการบอกเจตนารมณ์ของการส่งสาร ส่วนเนื้อเรื่อง หากจำแนกประเภทของเนื้อเรื่องตามแนวคิดเรื่องประเภทสัมพันธสารของ Robert E. Longacre (1996) พบว่าเนื้อเรื่องมี 2 ประเภท คือ เนื้อเรื่องประเภทคำสอน และเนื้อเรื่องประเภทเรื่องเล่า เนื้อเรื่องประเภทคำสอน ประกอบด้วยส่วนขึ้นต้นคำสอน ส่วนเนื้อเรื่องคำสอน และส่วนลงท้ายคำสอน โดยส่วนขึ้นต้นคำสอนและส่วนลงท้ายคำสอนไม่ได้เป็นองค์ประกอบบังคับ การขึ้นต้นคำสอนและการลงท้ายคำสอนลักษณะต่างๆ นี้มีผลต่อการจัดหมวดหมู่คำสอนแต่ละเรื่องให้เป็นระบบและมีสัมพันธภาพ ส่วนเนื้อเรื่องประเภทเรื่องเล่านั้นเป็นส่วนที่ใช้ประกอบเนื้อเรื่องประเภทคำสอน ท่วงทำนองการเขียนขึ้นต้นเนื้อเรื่องประเภทเรื่องเล่ามี 3 ลักษณะ ส่วนเนื้อเรื่องของเรื่องเล่านั้นเน้นที่การกระทำและผลจากการกระทำ ท่วงทำนองการเขียนลงท้ายเรื่องเล่ามี 3 ลักษณะ ส่วนปิดเรื่อง ปรากฏถ้อยคำแสดงการกล่าวจบและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการจาร 2019-08-21T08:45:32Z 2019-08-21T08:45:32Z 2561 มนุษยศาสตร์สาร 19, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 178-218 2630-0370 https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/163234/117972 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65944 Tha มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ตำราจริยศาสตร์ล้านนา ท่วงทำนองการเขียน |
spellingShingle |
ตำราจริยศาสตร์ล้านนา ท่วงทำนองการเขียน จเด็จ เตชะสาย ท่วงทำนองการเขียนในตำราจริยศาสตร์ล้านนา |
description |
มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน |
author |
จเด็จ เตชะสาย |
author_facet |
จเด็จ เตชะสาย |
author_sort |
จเด็จ เตชะสาย |
title |
ท่วงทำนองการเขียนในตำราจริยศาสตร์ล้านนา |
title_short |
ท่วงทำนองการเขียนในตำราจริยศาสตร์ล้านนา |
title_full |
ท่วงทำนองการเขียนในตำราจริยศาสตร์ล้านนา |
title_fullStr |
ท่วงทำนองการเขียนในตำราจริยศาสตร์ล้านนา |
title_full_unstemmed |
ท่วงทำนองการเขียนในตำราจริยศาสตร์ล้านนา |
title_sort |
ท่วงทำนองการเขียนในตำราจริยศาสตร์ล้านนา |
publisher |
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/163234/117972 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65944 |
_version_ |
1681426363264794624 |