กลวิธีภาษาในประเด็นการเป็นหนี้และการออมที่ปรากฏผ่านสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์
มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิก...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/186493/131089 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65946 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-65946 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-659462019-08-21T08:45:32Z กลวิธีภาษาในประเด็นการเป็นหนี้และการออมที่ปรากฏผ่านสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ Linguistic Strategies in Financial Service Ads on Thai TV: Issues of Saving and Getting a Loan ณัฐ อังศุวิริยะ ธุรกรรมการเงิน การออม การเป็นหนี้ มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กลวิธีทางภาษาในประเด็นการเป็นหนี้และการออมจากสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ไทย ผู้วิจัยเก็บข้อมูลโฆษณาธุรกรรมทางการเงินปี พ.ศ.2558-2559 โดยคัดเลือกข้อมูลเฉพาะการทำธุรกรรมทางการเงิน รวมข้อมูลทั้งสิ้น 77 เรื่อง โดยใช้แนวคิดทางด้านอรรถศาสตร์และวัจนปฏิบัติศาสตร์ประกอบการวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบกลวิธีภาษาที่สำคัญ 7 กลวิธี ได้แก่ การใช้มูลบท การใช้ทัศนภาวะ ความหมายชี้บ่งเป็นนัย การใช้คำถาม การเลือกใช้คำศัพท์ การใช้อุปลักษณ์ และการใช้คำเพิ่มและลดน้ำหนักซึ่งประเด็นสำคัญที่พบจากการศึกษากลวิธีภาษา คือการนำเสนอผลประโยชน์ให้กับลูกค้า ด้วยกลวิธีแต่ละกลวิธีจะมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกันที่อาจทำให้คิดได้ว่าจะเห็นความต่างของประเด็นการเป็นหนี้และการออมแต่จากผลการศึกษาพบว่าความน่าสนใจกลับเป็นเรื่องของผลประโยชน์ที่แท้จริงผ่านกลวิธีภาษา ซึ่งไม่ว่าจะเป็นประเด็นการเป็นหนี้หรือการออมผู้รับประโยชน์ที่แท้จริงในการทำธุรกรรมทางการเงินจากสื่อโฆษณาก็คือสถาบันการเงิน 2019-08-21T08:45:32Z 2019-08-21T08:45:32Z 2562 มนุษยศาสตร์สาร 20, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 11-40 2630-0370 https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/186493/131089 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65946 Tha มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ธุรกรรมการเงิน การออม การเป็นหนี้ |
spellingShingle |
ธุรกรรมการเงิน การออม การเป็นหนี้ ณัฐ อังศุวิริยะ กลวิธีภาษาในประเด็นการเป็นหนี้และการออมที่ปรากฏผ่านสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ |
description |
มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน |
author |
ณัฐ อังศุวิริยะ |
author_facet |
ณัฐ อังศุวิริยะ |
author_sort |
ณัฐ อังศุวิริยะ |
title |
กลวิธีภาษาในประเด็นการเป็นหนี้และการออมที่ปรากฏผ่านสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ |
title_short |
กลวิธีภาษาในประเด็นการเป็นหนี้และการออมที่ปรากฏผ่านสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ |
title_full |
กลวิธีภาษาในประเด็นการเป็นหนี้และการออมที่ปรากฏผ่านสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ |
title_fullStr |
กลวิธีภาษาในประเด็นการเป็นหนี้และการออมที่ปรากฏผ่านสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ |
title_full_unstemmed |
กลวิธีภาษาในประเด็นการเป็นหนี้และการออมที่ปรากฏผ่านสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ |
title_sort |
กลวิธีภาษาในประเด็นการเป็นหนี้และการออมที่ปรากฏผ่านสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ |
publisher |
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/186493/131089 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65946 |
_version_ |
1681426363640184832 |