การประยุกต์ใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้น กับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำระดับจังหวัดของประเทศไทย :กรณีตัวอย่าง
วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/118000/106072 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65984 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-65984 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-659842019-08-21T08:45:33Z การประยุกต์ใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้น กับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำระดับจังหวัดของประเทศไทย :กรณีตัวอย่าง Applications Generalized Maximum Entropy Estimators to the Factors Influencing to Determinants of Province Minimum Wage in Thailand: A Case Study ปราโมทย์ บุญตัน กฤตวิทย์ อัจฉริยะพานิชกุล กันตพร ช่วงชิด ค่าจ้างขั้นต่ำ วิธีเอนโทรปี แบบจำลองเชิงเส้น วิธีกำลังสองน้อยที่สุด วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำของจังหวัดกระบี่ ระนอง กรุงเทพ ระยอง และสระบุรี เพื่อใช้เป็นกรณีศึกษาซึ่งเป็นจังหวัดที่ค่าจ้างขั้นต่ำไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายตามคุณภาพมากที่สุดในปี พ.ศ. 2559 โดยใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้น(Generalized Maximum Entropy Estimators of Linear Model) ซึ่งวิธีนี้มีความยืดหยุ่นกว่าวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด (Ordinary Least Squares) ในการศึกษานี้ประเมินความผิดพลาดของแบบจำลองโดยค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อน (Mean Square Error :MSE) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าวิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดมีความแม่นยำมากกว่าวิธีกำลังสองน้อยที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่าปัจจัยถูกนำมาพิจารณามากที่สุดคือ ผลิตภาพแรงงานและอัตราการว่างงานในจังหวัด รองลงมาคืออัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในจังหวัดและค่าใช้จ่ายตามคุณภาพ 2019-08-21T08:45:33Z 2019-08-21T08:45:33Z 2561 วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 22, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2561), 11-30 0859-8479 https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/118000/106072 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65984 Tha คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ค่าจ้างขั้นต่ำ วิธีเอนโทรปี แบบจำลองเชิงเส้น วิธีกำลังสองน้อยที่สุด |
spellingShingle |
ค่าจ้างขั้นต่ำ วิธีเอนโทรปี แบบจำลองเชิงเส้น วิธีกำลังสองน้อยที่สุด ปราโมทย์ บุญตัน กฤตวิทย์ อัจฉริยะพานิชกุล กันตพร ช่วงชิด การประยุกต์ใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้น กับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำระดับจังหวัดของประเทศไทย :กรณีตัวอย่าง |
description |
วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการ |
author |
ปราโมทย์ บุญตัน กฤตวิทย์ อัจฉริยะพานิชกุล กันตพร ช่วงชิด |
author_facet |
ปราโมทย์ บุญตัน กฤตวิทย์ อัจฉริยะพานิชกุล กันตพร ช่วงชิด |
author_sort |
ปราโมทย์ บุญตัน |
title |
การประยุกต์ใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้น กับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำระดับจังหวัดของประเทศไทย :กรณีตัวอย่าง |
title_short |
การประยุกต์ใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้น กับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำระดับจังหวัดของประเทศไทย :กรณีตัวอย่าง |
title_full |
การประยุกต์ใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้น กับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำระดับจังหวัดของประเทศไทย :กรณีตัวอย่าง |
title_fullStr |
การประยุกต์ใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้น กับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำระดับจังหวัดของประเทศไทย :กรณีตัวอย่าง |
title_full_unstemmed |
การประยุกต์ใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้น กับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำระดับจังหวัดของประเทศไทย :กรณีตัวอย่าง |
title_sort |
การประยุกต์ใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้น กับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำระดับจังหวัดของประเทศไทย :กรณีตัวอย่าง |
publisher |
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/118000/106072 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65984 |
_version_ |
1681426370742190080 |