รัฐธรรมนูญไทยกับความหลากหลายทางเพศ

CMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อารยา สุขสม
Language:Tha
Published: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/133688/118548
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66003
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66003
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-660032019-08-21T09:18:19Z รัฐธรรมนูญไทยกับความหลากหลายทางเพศ Thai Constitution and Sexual Diversity อารยา สุขสม ความหลากหลายทางเพศ วิถีทางเพศ อัตลักษณ์ทางเพศ รัฐธรรมนูญ CMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆ บทความนี้มุ่งศึกษา 1) เหตุผลและความจำเป็นของการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ และ 2) การปรับใช้หลักการห้ามเลือกปฏิบัติเพื่อคุ้มครองกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในองค์การสหประชาชาติ รวมถึงแนวทางปฏิบัติของต่างประเทศและประเทศไทย โดยเป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพในลักษณะการทบทวนวรรณกรรมและการวิเคราะห์เอกสาร ทั้งนี้เพื่อแสวงหาแนวทางการตีความรัฐธรรมนูญเพื่อคุ้มครองกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทยให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ผลจากการศึกษาพบว่า แนวคิดเรื่องความหลากหลายทางเพศเกิดจากการยอมรับว่าเพศของมนุษย์มิได้ยึดโยงกับเพศสรีระอีกต่อไป หากแต่มีความเชื่อมโยงกับวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศซึ่งมีความหลากหลายแตกต่างกัน ต่อมาองค์การสหประชาชาติได้นำเรื่องวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศมาใช้เป็นศูนย์กลางในการให้ความคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศภายใต้หลักการห้ามเลือกปฏิบัติ ด้วยเหตุนี้รัฐสมาชิกจึงมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามพันธกรณีดังกล่าว ในบางประเทศจึงได้กำหนดให้วิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศเป็นส่วนหนึ่งในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ในขณะที่ประเทศส่วนใหญ่รวมถึงประเทศไทยอาศัยการตีความหลักการห้ามเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งเพศให้ครอบคลุมถึงวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ ซึ่งการคุ้มครองจะมีประสิทธิภาพเพียงใดขึ้นอยู่กับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องความหลากหลายทางเพศของผู้บังคับใช้กฎหมายเป็นสำคัญ 2019-08-21T09:18:19Z 2019-08-21T09:18:19Z 2561 นิติสังคมศาสตร์ 11, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 87-120 2672-9245 https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/133688/118548 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66003 Tha คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ความหลากหลายทางเพศ
วิถีทางเพศ
อัตลักษณ์ทางเพศ
รัฐธรรมนูญ
spellingShingle ความหลากหลายทางเพศ
วิถีทางเพศ
อัตลักษณ์ทางเพศ
รัฐธรรมนูญ
อารยา สุขสม
รัฐธรรมนูญไทยกับความหลากหลายทางเพศ
description CMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆ
author อารยา สุขสม
author_facet อารยา สุขสม
author_sort อารยา สุขสม
title รัฐธรรมนูญไทยกับความหลากหลายทางเพศ
title_short รัฐธรรมนูญไทยกับความหลากหลายทางเพศ
title_full รัฐธรรมนูญไทยกับความหลากหลายทางเพศ
title_fullStr รัฐธรรมนูญไทยกับความหลากหลายทางเพศ
title_full_unstemmed รัฐธรรมนูญไทยกับความหลากหลายทางเพศ
title_sort รัฐธรรมนูญไทยกับความหลากหลายทางเพศ
publisher คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/133688/118548
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66003
_version_ 1681426374237093888