ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม

วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ณัฐวรรณ พินิจสุวรรณ, กนกพร สุคำวัง, ภารดี นานาศิลป์
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/145015/107180
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66175
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66175
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-661752019-08-21T09:18:23Z ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม Factors Predicting Quality of Life Among Caregivers of Older Persons with Dementia ณัฐวรรณ พินิจสุวรรณ กนกพร สุคำวัง ภารดี นานาศิลป์ คุณภาพชีวิต ปัจจัยทำนาย ผู้ดูแล ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมอง วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ ภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุเป็นภาวะที่ต่อเนื่องและเรื้อรัง ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ดูแล การศึกษาปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมทำให้ทราบแนวทางในการช่วยเหลือผู้ดูแลกลุ่มดังกล่าว การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยหาความสัมพันธ์เชิงทำนาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม ได้แก่ ภาระของผู้ดูแล แรงสนับสนุนทางสังคม และภาวะซึมเศร้าของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม โดยใช้แนวคิดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลก (The WHOQOL Group, 1997) ร่วมกับการทบทวนเอกสารทางวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมที่เข้ารับการรักษาที่คลินิกความจำ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลประสาท จังหวัดเชียงใหม่ คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดจำนวน 158 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม แบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ 26 ตัวชี้วัด ฉบับภาษาไทย (World Health Organization Quality of life assessment instrument: WHOQOL – BREF – THAI ) แบบวัดภาระในการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังของซาริท (Zarit Burden Interview) ฉบับภาษาไทย แบบสัมภาษณ์การสนับสนุนทางสังคม และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าของเบ็ค (The Beck depression Inventory) ฉบับภาษาไทย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์เชิงอันดับของเพียร์สัน และสถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุคุณแบบขั้นตอนผลการศึกษาพบว่า คุณภาพชีวิตโดยรวมของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับดี (\X\ ̅ = 102.38, S.D. = 14.93) ในขณะที่ภาระของผู้ดูแลโดยรวมอยู่ในระดับต่ำ (\X\ ̅ = 20.33, S.D. = 13.07) แรงสนับสนุนทางสังคมโดยรวมอยู่ในระดับสูง (\X\ ̅ = 135.45, S.D. = 19.33) และภาวะซึมเศร้าโดยรวมอยู่ในระดับปกติ (\X\ ̅= 7.03, S.D. = 4.21) แรงสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .845) ภาระของผู้ดูแลและภาวะซึมเศร้ามีความสัมพันธ์เชิงลบในระดับสูงกับคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = -.808 และ r = -.847 ตามลำดับ) แรงสนับสนุนทางสังคมและภาวะซึมเศร้าสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมได้ร้อยละ 76.6 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .001 โดยแรงสนับสนุนทางสังคมเป็นปัจจัยที่สามารถทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลได้ร้อยละ 72.9 ขณะที่ภาวะซึมเศร้าสามารถร่วมทำนายได้ร้อยละ 76.6 ส่วนภาระของผู้ดูแลไม่สามารถร่วมทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถบ่งบอกความต้องการช่วยเหลือของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม และเป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบการดูแลและส่งเสริมคุณภาพชีวิตในผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมได้ 2019-08-21T09:18:23Z 2019-08-21T09:18:23Z 2561 พยาบาลสาร 45, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2561), 1-13 0125-0078 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/145015/107180 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66175 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic คุณภาพชีวิต
ปัจจัยทำนาย
ผู้ดูแล
ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมอง
spellingShingle คุณภาพชีวิต
ปัจจัยทำนาย
ผู้ดูแล
ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมอง
ณัฐวรรณ พินิจสุวรรณ
กนกพร สุคำวัง
ภารดี นานาศิลป์
ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
description วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ
author ณัฐวรรณ พินิจสุวรรณ
กนกพร สุคำวัง
ภารดี นานาศิลป์
author_facet ณัฐวรรณ พินิจสุวรรณ
กนกพร สุคำวัง
ภารดี นานาศิลป์
author_sort ณัฐวรรณ พินิจสุวรรณ
title ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
title_short ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
title_full ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
title_fullStr ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
title_full_unstemmed ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
title_sort ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/145015/107180
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66175
_version_ 1681426405933449216