รื้อสร้างบางระกำโมเดล : ความไม่เสมอภาคในการรับภาระสาธารณะ
CMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความ...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/140748/118563 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66179 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-66179 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-661792019-08-21T09:18:23Z รื้อสร้างบางระกำโมเดล : ความไม่เสมอภาคในการรับภาระสาธารณะ Reconstruction Bang Rakam Model : The Inequality in Public Duty ยอดพล เทพสิทธา ฐานิดา บุญวรรโณ บางระกำโมเดล 60 ทุ่งหน่วงน้ำ ความเสมอภาคในการรับภาระสาธารณะ CMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆ โครงการบริหารจัดการน้ำแบบชุมชนมีส่วนร่วมบางระกำโมเดล 60 หรือ โครงการทุ่ง หน่วงน้ำบางระกำเป็นโครงการบริหารจัดการน้ำที่ได้เริ่มดำเนินการในปี 2560 บนพื้นที่อำเภอบางระกำฝั่งซ้ายของแม่น้ำยมซึ่งเป็นเขตชลประทาน หลังจากที่โครงการบริหารจัดการน้ำต้นแบบบางระกำโมเดลที่ริเริ่มในปี 2554 ได้ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้วบนพื้นที่อำเภอบางระกำฝั่งขวาของแม่น้ำยมซึ่งเป็นพื้นที่นอกเขตชลประทาน นอกจากโครงการบริหารจัดการน้ำบางระกำโมเดลทั้งสองจะมีความแตกต่างกันในเรื่องของเวลาและลักษณะพื้นที่โครงการแล้ว ยังแตกต่างกันในสาระสำคัญคือ โครงการบางระกำโมเดล 54 นั้นมีบึงธรรมชาติ 3 บึงที่ถูกขุดลอกเป็นแก้มลิงรวมทั้งก่อสร้างอาคารชลประทานบังคับน้ำ ในขณะที่โครงการบางระกำโมเดล 60 นั้นจะอาศัยการปรับปฏิทินเพาะปลูกผ่านกรอบระยะเวลาการส่งน้ำของชลประทาน กล่าวคือ โครงการบางระกำโมเดล 60 จะปรับปฏิทินให้เกษตรกรเลื่อนเวลาเพาะปลูกให้เร็วขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน โดยชลประทานจะทำหน้าที่จัดสรรน้ำให้เกษตรกร และเกษตรกรจะต้องเก็บเกี่ยวผลผลิตให้เสร็จก่อนวันที่ 15 สิงหาคม เพื่อที่จะปรับเปลี่ยนทุ่งนาข้าวที่เก็บเกี่ยวแล้วนั้นให้กลายเป็นทุ่งหน่วงน้ำ หรือ เป็นแก้มลิงรับน้ำและหน่วงน้ำไว้ตั้งแต่เดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤศจิกายนเพื่อลดผลกระทบจากอุทกภัยที่จะเกิดขึ้นในเขตชุมชนและสถานที่ราชการของจังหวัดสุโขทัย และเพื่อหน่วงน้ำไม่ให้เกิดผลกระทบทางอุทกภัยกับพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่าง โดยในช่วงระยะเวลาเกือบ 4 เดือนของการหน่วงน้ำนั้นยังไม่ปรากฏถึงแนวทางในการเยียวยาและชดเชยให้แก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ จากเนื้อหาและรูปแบบของโครงการบางระกำโมเดล 60 จะพบว่าเกิดความไม่เสมอภาคในการรับภาระสาธารณะชองประชาชนขึ้น ซึ่งเป็นหน้าที่ของรัฐที่จะต้องทำการชดเชยและเยียวยาแก้ไขเพื่อไม่ให้ประชาชนในพื้นที่หน่วงน้ำต้องรับภาระอันเกินสมควร ในทางกลับกันประชาชนก็มีหน้าที่ที่จะต้องกระทำต่อรัฐนั่นคือการรับภาระสาธารณะในรูปแบบที่แตกต่าง ซึ่งภาระของประชาชนนี้อยู่ภายใต้หลักแห่งความเสมอภาค กล่าวคือหากมีเหตุการณ์บางอย่างที่ทำให้ประชาชนคนใดหรือกลุ่มใดที่ต้องรับภาระสาธารณะที่มากกว่าบุคคลอื่นอันทำให้ละเมิดต่อหลักความเสมอภาคแล้วนั้น แม้ว่าการนั้นจะไม่ใช่ความผิดของรัฐก็ตาม รัฐเองก็ไม่อาจปฏิเสธความรับผิดชอบของรัฐในกรณีเช่นนี้ได้ รัฐพึงมีหน้าที่ต้องทำการเยียวยาแก้ไขให้แก่ประชาชนผู้ที่ต้องแบกรับภาระสาธารณะแทนบุคคลอื่นภายในรัฐ บทความชิ้นนี้จะชี้ให้เห็นถึงภาพของการรับภาระสาธารณะในพื้นที่และการนำเสนอมาตรการที่เหมาะสมในการชดเชยและเยียวยาแก้ไข 2019-08-21T09:18:23Z 2019-08-21T09:18:23Z 2561 นิติสังคมศาสตร์ 11, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 142-167 2672-9245 https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/140748/118563 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66179 Tha คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
บางระกำโมเดล 60 ทุ่งหน่วงน้ำ ความเสมอภาคในการรับภาระสาธารณะ |
spellingShingle |
บางระกำโมเดล 60 ทุ่งหน่วงน้ำ ความเสมอภาคในการรับภาระสาธารณะ ยอดพล เทพสิทธา ฐานิดา บุญวรรโณ รื้อสร้างบางระกำโมเดล : ความไม่เสมอภาคในการรับภาระสาธารณะ |
description |
CMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆ |
author |
ยอดพล เทพสิทธา ฐานิดา บุญวรรโณ |
author_facet |
ยอดพล เทพสิทธา ฐานิดา บุญวรรโณ |
author_sort |
ยอดพล เทพสิทธา |
title |
รื้อสร้างบางระกำโมเดล : ความไม่เสมอภาคในการรับภาระสาธารณะ |
title_short |
รื้อสร้างบางระกำโมเดล : ความไม่เสมอภาคในการรับภาระสาธารณะ |
title_full |
รื้อสร้างบางระกำโมเดล : ความไม่เสมอภาคในการรับภาระสาธารณะ |
title_fullStr |
รื้อสร้างบางระกำโมเดล : ความไม่เสมอภาคในการรับภาระสาธารณะ |
title_full_unstemmed |
รื้อสร้างบางระกำโมเดล : ความไม่เสมอภาคในการรับภาระสาธารณะ |
title_sort |
รื้อสร้างบางระกำโมเดล : ความไม่เสมอภาคในการรับภาระสาธารณะ |
publisher |
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/140748/118563 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66179 |
_version_ |
1681426406675841024 |