ผลของโปรแกรมการโค้ชต่อการเตรียมพร้อมและภาระของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง

วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: นัยน์ปพร จันทรธิมา, ทศพร คำผลศิริ, เดชา ทำดี
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/145065/107210
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66180
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66180
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-661802019-08-21T09:18:23Z ผลของโปรแกรมการโค้ชต่อการเตรียมพร้อมและภาระของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง Effects of Coaching Program on Preparedness and Burden Among Caregivers of Older Persons with Stroke นัยน์ปพร จันทรธิมา ทศพร คำผลศิริ เดชา ทำดี การโค้ช การเตรียมพร้อม ภาระ ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรค วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ ผู้ที่รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองจะมีความพิการหลงเหลืออยู่ ทำให้มีข้อจำกัดในการทำกิจวัตรประจำวัน และส่งผลให้เป็นภาระต่อผู้ดูแล ผู้ดูแลจำเป็นต้องมีความพร้อมในการดูแล ดังนั้นการเตรียมพร้อมของผู้ดูแลจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้การดูแลมีประสิทธิภาพซึ่งการโค้ชเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถช่วยในการเตรียมผู้ดูแล การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง ชนิดเปรียบเทียบ 2 กลุ่ม วัดก่อน-หลัง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการเตรียมพร้อมและภาระของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการโค้ชและกลุ่มที่ไม่ได้รับการโค้ช กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองที่อาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ ที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนด 52 ราย สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 26 ราย โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการโค้ชจากผู้วิจัยเป็นเวลา 12 สัปดาห์ และกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติจากทีมสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 1)โปรแกรมการโค้ชสำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง 2) คู่มือประกอบการให้ความรู้ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง 3) สมุดบันทึกสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง และ 4) วีดีทัศน์การฟื้นฟูสมรรถภาพสำหรับผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้ดูแล 2) แบบสัมภาษณ์ความพร้อมในการดูแล และ 3) แบบสัมภาษณ์ภาระของผู้ดูแล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบค่าทีชนิดสองกลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน และสถิติทดสอบค่าทีชนิดสองกลุ่มที่สัมพันธ์กัน ผลการศึกษาพบว่า การเตรียมพร้อมและภาระของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองอยู่ในระดับปานกลาง การเตรียมพร้อมของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองกลุ่มที่ได้รับการโค้ชสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการโค้ช อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ภาระของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองกลุ่มที่ได้รับการโค้ชน้อยกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการโค้ช อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) การเตรียมพร้อมของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองหลังได้รับการโค้ชสูงกว่าก่อนได้รับการโค้ช อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ภาระของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองหลังได้รับการโค้ชน้อยกว่าก่อนได้รับการโค้ช อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) 2019-08-21T09:18:23Z 2019-08-21T09:18:23Z 2561 พยาบาลสาร 45, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2561), 51-63 0125-0078 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/145065/107210 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66180 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การโค้ช
การเตรียมพร้อม
ภาระ
ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรค
spellingShingle การโค้ช
การเตรียมพร้อม
ภาระ
ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรค
นัยน์ปพร จันทรธิมา
ทศพร คำผลศิริ
เดชา ทำดี
ผลของโปรแกรมการโค้ชต่อการเตรียมพร้อมและภาระของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง
description วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ
author นัยน์ปพร จันทรธิมา
ทศพร คำผลศิริ
เดชา ทำดี
author_facet นัยน์ปพร จันทรธิมา
ทศพร คำผลศิริ
เดชา ทำดี
author_sort นัยน์ปพร จันทรธิมา
title ผลของโปรแกรมการโค้ชต่อการเตรียมพร้อมและภาระของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง
title_short ผลของโปรแกรมการโค้ชต่อการเตรียมพร้อมและภาระของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง
title_full ผลของโปรแกรมการโค้ชต่อการเตรียมพร้อมและภาระของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง
title_fullStr ผลของโปรแกรมการโค้ชต่อการเตรียมพร้อมและภาระของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมการโค้ชต่อการเตรียมพร้อมและภาระของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง
title_sort ผลของโปรแกรมการโค้ชต่อการเตรียมพร้อมและภาระของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/145065/107210
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66180
_version_ 1681426406864584704