ความวิตกกังวล การสนับสนุนทางสังคม และความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ในระยะหลังคลอดของมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง

วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กนิษฐา แก้วดู, ฉวี เบาทรวง, นันทพร แสนศิริพันธ์
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/197066/137027
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66250
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66250
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-662502019-08-21T09:18:24Z ความวิตกกังวล การสนับสนุนทางสังคม และความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ในระยะหลังคลอดของมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง Anxiety, Social Support, and Postpartum Functional Status Among Mothers with Cesarean Section กนิษฐา แก้วดู ฉวี เบาทรวง นันทพร แสนศิริพันธ์ ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ความวิตกกังวล การสนับสนุนทางสังคม วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของมารดาในระยะหลังคลอด เป็นสิ่งที่บ่งชี้ถึงผลลัพธ์ทางสุขภาพที่สำคัญสำหรับผู้เป็นมารดา การวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความวิตกกังวล การสนับสนุนทางสังคม และความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ในระยะหลังคลอดของมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอด กลุ่มตัวอย่างคือ มารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดที่อยู่ในระยะ 6 สัปดาห์หลังคลอด จำนวน 102 ราย ที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลราชวิถี ระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2557 ถึง เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินความวิตกกังวลต่อสถานการณ์ของสปิลเบอร์เกอร์ (1983) ฉบับภาษาไทยโดย ดาราวรรณ ต๊ะปินตา (2534) มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .89 แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมของมารดาหลังคลอดโดย นลินี สิทธิบุญมาและคณะ (2557) มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .94 และแบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของมารดาโดย ฉวี เบาทรวง และคณะ (2557) มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .94 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า มารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดร้อยละ 56.86 มีความวิตกกังวลต่อสถานการณ์อยู่ในระดับต่ำ มารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดส่วนใหญ่ (ร้อยละ 79.42 ) ได้รับการสนับสนุนทางสังคมอยู่ในระดับมาก และมารดาส่วนใหญ่ (ร้อยละ 84.31) ระบุว่า สามี คือผู้ที่ให้การสนับสนุนมากที่สุด มารดาหลังคลอดที่ได้รับการผ่าตัดคลอดจำนวนมาก (ร้อยละ 90.20) มีความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของมารดาอยู่ในระดับมาก ความวิตกกังวลมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลาง กับความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.503, p < .01) การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .385, p < .01) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนให้การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ในระยะหลังคลอดของมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอด 2019-08-21T09:18:24Z 2019-08-21T09:18:24Z 2562 พยาบาลสาร 46, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2562), 1-12 0125-0078 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/197066/137027 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66250 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่
ความวิตกกังวล
การสนับสนุนทางสังคม
spellingShingle ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่
ความวิตกกังวล
การสนับสนุนทางสังคม
กนิษฐา แก้วดู
ฉวี เบาทรวง
นันทพร แสนศิริพันธ์
ความวิตกกังวล การสนับสนุนทางสังคม และความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ในระยะหลังคลอดของมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
description วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ
author กนิษฐา แก้วดู
ฉวี เบาทรวง
นันทพร แสนศิริพันธ์
author_facet กนิษฐา แก้วดู
ฉวี เบาทรวง
นันทพร แสนศิริพันธ์
author_sort กนิษฐา แก้วดู
title ความวิตกกังวล การสนับสนุนทางสังคม และความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ในระยะหลังคลอดของมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
title_short ความวิตกกังวล การสนับสนุนทางสังคม และความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ในระยะหลังคลอดของมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
title_full ความวิตกกังวล การสนับสนุนทางสังคม และความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ในระยะหลังคลอดของมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
title_fullStr ความวิตกกังวล การสนับสนุนทางสังคม และความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ในระยะหลังคลอดของมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
title_full_unstemmed ความวิตกกังวล การสนับสนุนทางสังคม และความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ในระยะหลังคลอดของมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
title_sort ความวิตกกังวล การสนับสนุนทางสังคม และความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ในระยะหลังคลอดของมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/197066/137027
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66250
_version_ 1681426419772555264