ผลของโปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงต่อพฤติกรรมการปฏิบัติตน และค่าเฉลี่ยความดันโลหิตของบุคคลกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/197129/137133 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66256 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-66256 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-662562019-08-21T09:18:24Z ผลของโปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงต่อพฤติกรรมการปฏิบัติตน และค่าเฉลี่ยความดันโลหิตของบุคคลกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง Effects of Hypertension Prevention Program on Practical Behaviors and Blood Pressure Levels among High risk of Hypertensive Persons วงค์ชญพจณ์ พรหมศิลา สุภาพร แนวบุตร ประทุมา ฤทธิ์โพธิ์ กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง โปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง พฤติกรรมการปฏิบัติตน ความดันโลหิต ทฤษฎีการพยาบาลของนิวแมน วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ โรคความดันโลหิตสูง เป็นภัยเงียบและสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดการเจ็บป่วยและเสียชีวิตที่ทวีความรุนแรงขึ้น การป้องกันระยะก่อนการป่วยด้วยการส่งเสริมการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคจึงมีความสำคัญ อีกทั้งลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษา ตลอดจนป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงต่อพฤติกรรม การปฏิบัติตนและระดับความดันโลหิตของบุคคลกลุ่มเสี่ยงที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำอ่าง อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่ผู้วิจัยกำหนดจำนวน 60 ราย ใช้เกณฑ์คัดเข้าคือ อายุระหว่าง 35 – 59 ปี ความดันโลหิตขณะพัก มีระดับความดันซิสโตลิก (systolic blood pressure) เท่ากับ 130 – 139 มม.ปรอท และ/หรือมีระดับความดันไดแอสโตลิก (diastolic blood pressure) เท่ากับ 85 – 89 มม.ปรอท ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงมาก่อน อ่านและเขียนหนังสือไทยได้ และไม่มีการตั้งครรภ์ แบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 30 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลปกติ ส่วนกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการพยาบาลของนิวแมน (Neuman,2002)ที่ผ่าน การทดสอบผ่านการตรวจสอบความตรง ตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน หาค่าดัชนีความสอดคล้องของ ข้อคำถามและวัตถุประสงค์ผ่านระดับ .50 ขึ้นไป และหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าเท่ากับ .92 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติตนและแบบบันทึกระดับความดันโลหิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและเปรียบเทียบ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน paired t-test และ independent t-test ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการปฏิบัติตนทั้งด้านอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์และการจัดการความเครียดของกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมแตกต่างจากก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และค่าเฉลี่ยความดันโลหิตของกลุ่มทดลองแตกต่างจากก่อนเข้าโปรแกรม และแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2019-08-21T09:18:24Z 2019-08-21T09:18:24Z 2562 พยาบาลสาร 46, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2562), 95-107 0125-0078 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/197129/137133 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66256 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง โปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง พฤติกรรมการปฏิบัติตน ความดันโลหิต ทฤษฎีการพยาบาลของนิวแมน |
spellingShingle |
กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง โปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง พฤติกรรมการปฏิบัติตน ความดันโลหิต ทฤษฎีการพยาบาลของนิวแมน วงค์ชญพจณ์ พรหมศิลา สุภาพร แนวบุตร ประทุมา ฤทธิ์โพธิ์ ผลของโปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงต่อพฤติกรรมการปฏิบัติตน และค่าเฉลี่ยความดันโลหิตของบุคคลกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง |
description |
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ |
author |
วงค์ชญพจณ์ พรหมศิลา สุภาพร แนวบุตร ประทุมา ฤทธิ์โพธิ์ |
author_facet |
วงค์ชญพจณ์ พรหมศิลา สุภาพร แนวบุตร ประทุมา ฤทธิ์โพธิ์ |
author_sort |
วงค์ชญพจณ์ พรหมศิลา |
title |
ผลของโปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงต่อพฤติกรรมการปฏิบัติตน และค่าเฉลี่ยความดันโลหิตของบุคคลกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง |
title_short |
ผลของโปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงต่อพฤติกรรมการปฏิบัติตน และค่าเฉลี่ยความดันโลหิตของบุคคลกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง |
title_full |
ผลของโปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงต่อพฤติกรรมการปฏิบัติตน และค่าเฉลี่ยความดันโลหิตของบุคคลกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง |
title_fullStr |
ผลของโปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงต่อพฤติกรรมการปฏิบัติตน และค่าเฉลี่ยความดันโลหิตของบุคคลกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง |
title_full_unstemmed |
ผลของโปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงต่อพฤติกรรมการปฏิบัติตน และค่าเฉลี่ยความดันโลหิตของบุคคลกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง |
title_sort |
ผลของโปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงต่อพฤติกรรมการปฏิบัติตน และค่าเฉลี่ยความดันโลหิตของบุคคลกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/197129/137133 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66256 |
_version_ |
1681426420902920192 |