ประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลันตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/197218/137252 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66261 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-66261 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-662612019-08-21T09:18:25Z ประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลันตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน Effectiveness of Caring for Acute Critically Ill Patients Based on Family-Centered Care Concept in the Emergency Department วรวุฒิ ขาวทอง อัจฉรา สุคนธสรรพ์ สุภารัตน์ วังศรีคูณ ครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแล ผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลัน หน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ สถานการณ์การเจ็บป่วยวิกฤตเฉียบพลันของบุคคลอันเป็นที่รักจนต้องเข้ารับบริการในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉินเป็นสถานการณ์วิกฤตของสมาชิกในครอบครัว ทำให้เกิดความวิตกกังวลที่อาจส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการดูแลผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลันตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน ต่อความวิตกกังวล การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของสมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วย กลุ่มตัวอย่างเป็นสมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลันที่มารับบริการในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉินจำนวน 72 ราย แบ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามมาตรฐานปกติและกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลสองกลุ่มเท่าๆกัน เครื่องมือที่วิจัยคือ คู่มือการดูแลผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลันในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉินตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแล และเครื่องมือรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบวัดความวิตกกังวลของกาเบอร์สัน (Gaberson, 1991) แบบประเมินการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของคริสตันและคณะ(Kriston, et al., 2010) และแบบประเมินความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลสร้างโดยผู้วิจัยจากการทบทวนวรรณกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติแมนวิทนีย์ยู (Mann-Whitney U-test) ผลการวิจัยพบว่า 1.สมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วยวิกฤติเฉียบพลันที่ได้รับการดูแลตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลมีความวิตกกังวล ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามมาตรฐานปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.01) 2.สมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วยวิกฤติเฉียบพลันที่ได้รับการดูแลตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ มากกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามมาตรฐานปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.01) 3.สมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วยวิกฤติเฉียบพลันที่ได้รับการดูแลตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลมีความพึงพอใจต่อบริการพยาบาล มากกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามมาตรฐานปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.01) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลันตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน จึงควรใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาแนวปฏิบัติเพื่อใช้ในสถานการณ์การดูแลผู้ป่วยและครอบครัวในสถานการณ์จริงที่หน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉินต่อไป 2019-08-21T09:18:24Z 2019-08-21T09:18:24Z 2562 พยาบาลสาร 46, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2562), 176-187 0125-0078 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/197218/137252 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66261 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแล ผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลัน หน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน |
spellingShingle |
ครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแล ผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลัน หน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน วรวุฒิ ขาวทอง อัจฉรา สุคนธสรรพ์ สุภารัตน์ วังศรีคูณ ประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลันตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน |
description |
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ |
author |
วรวุฒิ ขาวทอง อัจฉรา สุคนธสรรพ์ สุภารัตน์ วังศรีคูณ |
author_facet |
วรวุฒิ ขาวทอง อัจฉรา สุคนธสรรพ์ สุภารัตน์ วังศรีคูณ |
author_sort |
วรวุฒิ ขาวทอง |
title |
ประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลันตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน |
title_short |
ประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลันตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน |
title_full |
ประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลันตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน |
title_fullStr |
ประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลันตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน |
title_full_unstemmed |
ประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลันตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน |
title_sort |
ประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยวิกฤตเฉียบพลันตามแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแลในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/197218/137252 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66261 |
_version_ |
1681426421830909952 |